ค้นหาบทความในเว็บ

วันพุธที่ 8 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2566

9 - 10 กุมภาพันธ์ 2566 เข้าร่วมโครงการพัฒนาศักยภาพครูและบุคลากรทางการศึกษาในการจัดทำระบบประกันคุณภาพของสถานศึกษา

เมื่อวันที่ 9 - 10 กุมภาพันธ์ 2566 นายปฐมพร ธัมมาภิรัตตระกูล ครู ได้รับมอบหมายจากผู้อำนวยการ กศน.อำเภอสิงหนคร เข้าร่วมโครงการพัฒนาศักยภาพครูและบุคลากรทางการศึกษาในการจัดทำระบบประกันคุณภาพของสถานศึกษา วิทยากรให้ความรู้โดย นางสาวเบ็ญจวรรณ อำไพศรี และนายจตุรงค์ ทองดารา กลุ่มพัฒนาคุณภาพและมาตรฐานการศึกษา สำนักงาน กศน.

 ความรู้จากการอบรม
มาตรฐาน 3.1 - 3.9 ใช้ร่วมกันทั้งการศึกษาขั้นพื้นฐาน การศึกษาต่อเนื่อง และการศึกษาตามอัธยาศัย
วิจัย เขียนวิจัยในเรื่องใดก็ได้ 
ผลผลิต (output) กับ ผลลัพธ์ (outcome)

เงาะ input เข้าสู่ กระบวนการผลิต (prosec) ได้เงาะกระป๋อง (output) มีรายได้  ทานแล้วอร่อย (outcome)

การกำหนดค่าเป้าหมาย กำหนดตั้งแต่ต้นปีงบประมาณ  ควรทำไม่เกินไตรมาส 2 

พื้นฐาน
ม.1.1 ดูวิชาที่ลงทะเบียนของ 2 ปีที่แล้วค่าเฉลี่ยการสอบในรายวิชาที่เรียน ITW = 1+7+E
ม.1.2 ดูปีงบประมาณที่แล้ว ผู้ที่ได้รับการยกย่องกำหนดเป็นร้อยละ(มีความยืดหยุ่น) หรือจำนวนก็ได้
ม.1.3 ค่าเป้าหมายกำหนดร้อยละ 50 พอ ควรได้ร้อยละ 100 โครงงาน อย่าปิดการอบ
ม.1.4 ค่าเป้าหมายกำหนดเป็นร้อยละ 
ม.1.5 ไปดูนิยามศัพท์ เทคโนโลยีดิจิทัล ร่องรอย เช่น การส่งงานทางไลน์ ร้อยละ
ม.1.6 หลักฐาน มีการตรวจสุขภาพ หลักฐานการตรวจ ร้อยละ 
ม.1.7 อ่านออก เขียนได้ ใช้ระบบวัดระดับการรู้หนังสือ คิดเป็นร้อยละ
ม.1.8 ผู้จบ กศ.ขั้นพื้นฐาน หลักฐาน การติดตามผู้จบการ อย่ากำหนดค่าเป้าหมายให้สูงนัก

ม.2.1 ดูหลักสูตร ไม่ค่อยเห็นการประเมินหลักสูตร
ม.2.2
ม.2.3 ข้าราชการครูหรือผู้ปฏิบัติหน้าที่ ทุกคน 
ม.2.4 ครูทุกคน เช่น มีการติว

ม.3.1 ไม่น้อยกว่า 80 เช่น บันทึกการประชุม ใบลงทะเบียน คณะทำงาน คำสั่ง
ม.3.2 เขียนตามเกณฑ์
ม.3.3 เช่น บันทึกข้อความ อย่าผิดการอบ การพัฒนาอย่างไรก็ได้  แฟ้มสะสมงาน กิจกรรมที่ได้นำเข้าร่วม หน่วยงานที่จัด การนำความรู้ไปใช้ 
ม.3.4 ระบบเทคโน ฯ ต่าง ๆ ที่มีอยู่แล้ว 
ม.3.5 ร่องรอยการนิเทศ 
ม.3.6 เช่น มีกลุ่มไลน์คณะกรรมการสถานศึกษา การนำ SAR ให้คณะกรรมการสถานศึกษาทราบ 
ม.3.7 ภาคีเครือข่าย ใครก็ตามที่ไม่ได้สังกัด กศน.
ม.3.8 สถานศึกษาค้นหาเรื่องราวที่มีอยู่ในชุมชนท้องถิ่น ไม่ใช่วิชาการ ถอดบทเรียน องค์ความรู้นำมาเรียบเรียงเพื่องเป็นสื่อในรูปแบบใดรูปแบบหนึ่ง 
ม.3.9 งานวิจัยอย่างง่าย หยิบได้ทุกงาน 

ต่อเนื่อง
ม.1.1 
ม.2.1 ดูหลักการและเหตุผล ต้องมาจากความต้องการของชุมชน มีองค์ประกอบครบไหม 
ม.2.2
ม.2.3
ม.2.4
ม.2.5 หลักการสร้างแบบสอบถาม

อัธยาศัย
อย่าให้เกิน 100
ม 1
ม.2 ใช้หรือทั้งหมด หากมีอย่างใดอย่างหนึ่งก็บรรลุแล้ว
ม.2.1 การกำหนดโครงการเป็นไปตามความต้องการ
ม.2.2 ผู้จัดมีการพัฒนาตนเอง คำสั่ง หนังสือเชิญ
ม.2.3 มีสื่อ มีการพัฒนา จัดหาสื่อ 
ม.2.4 ร้อยละโครงการที่พึงพอใจในระดับดีขึ้นไป