ค้นหาบทความในเว็บ

วันอาทิตย์ที่ 6 พฤศจิกายน พ.ศ. 2565

7 - 9 พฤศจิกายน 2565 เข้าร่วมโครงการอบรมเชิงปฏิบัติการจัดการเรียนรู้ตามหลักการพัฒนาสมอง (Brain-based Learning) สำนักงาน กศน.จังหวัดสงขลา ประจำปีงบประมาณ 2565

เมื่อวันที่ 7 - 9 พฤศจิกายน 2565 นายปฐมพร ธัมมาภิรัตตระกูล ข้าราชการครู กศน.อำเภอสิงหนคร ได้รับมอบหมายให้เข้าร่วมโครงการอบรมเชิงปฏิบัติการจัดการเรียนรู้ตามหลักการพัฒนาสมอง (Brain-based Learning) สำนักงาน กศน.จังหวัดสงขลา ประจำปีงบประมาณ 2565 
สำนักงาน กศน.จังหวัดสงขลา ร่วมกับ สำนักงานบริหารและพัฒนาองค์ความรู้ OKMD ระหว่างวันที่ 7-9 พฤศจิกายน 2565 ณ โรงแรมหรรษา เจบี อำเภอหาดใหญ จังหวัดสงขลา 
หลักการพัฒนาสมอง Brain-based Learning คนเราใช้อารมณ์มากกว่าเหตุผล
 Lifelong Learning

1.ความรู้ - Passive / Active 
2.การสร้างความรู้ปัจเจก - Set Clrar Goals Metalearning เรียนรู้ให้เหมาะกับตนเอง Dig Deep กระโจนไปเลย ทุ่มเท Reflect ครุ่นคิดว่าที่ทำไปนั้นได้จริงไหม Sharing ย้ำซ้ำ ๆ กับความรู้นั้นกับคนอื่น
3.การสร้างความรู้ด้านโครงสร้าง

กระบวนการจำ ทำ ซ้ำ ย้ำ ทวน ✓✓✓

BBL การจัดการเรียนรู้ตามหลักการพัฒนาสมอง
(Brain - based Learning)
การจัดกระบวนการเรียนรู้ที่ถูกต้อง เหมาะสมกับทุกช่วงวัย โดยสอดคล้องกับพัฒนาการต้านโครงสร้าง และการทำงานของสมอง ตั้งแต่อยู่ภายในครรภ์มารดาถึงวัยชรา..อนุบาล ประถมศึกษา มัธยมศึกษา มหาวิทยาลัย และสูงวัย
การสอน ครูควรสอนให้ผู้เรียนทั้งแบบตั้งใจ (ตั้งใจฟังครูหน่อย) และแบบไม่ตั้งใจ

การปรับแผนการสอน ONIE ไปสู่ BBL 
ผู้บริหาร พาทำ แนะนำ ครู สนับสนุนส่งเสริมการจัดกระบวนการ
ONIE 4 ขั้นตอน
BBL 6 ขั้นตอน  

จากการเก็บข้อมูลและถอดบทเรียนในระดับจังหวัด
แผนการสอน Brain-Based Leaming สามารถยกระดับคุณภาพของผู้เรียนได้ เด็กมีความตั้งใจ มีสมาธิ และผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนเพิ่มขึ้น องค์ประกอบสำคัญของการขับเคถื่อนแผนการสอน ประกอบด้วย
1) ผู้บริหารมีการนิเทศการสอน และให้ความสำคัญกับการจัดการเรียนการ
สอนแบบ BBL และสนับสนุน สื่อและวัสดุที่ใช้ประกอบการเรียนการสอน
2) ครูผู้สอนเตรียมการสอน มีทักษะในการแก้ไขปัญหาฉพาะหน้า และเปิดใจยอมรับการพัฒนา
3) ผู้เรียนต้องให้ความร่วมมือ
4) การจัดกระบวนการเรียนรู้ภายใด้ทรัพยากรที่ขาดแคลน โดยให้มุมมองค้นหาผลิตสื่อ สื่งที่อยู่รอบตัวเรา สื่อสิ่งแวดล้อม ใช้เป็นสื่อในการจัดการเรียนการสอนให้ได้
เกิดประโยชน์และประสิทธิภาพสูงสุด เพื่อให้บรรถวัตถุประสงค์การเรียนรู้แต่ละวิชา
5) พัฒนาครู โดยเปิดโอกาสให้มีการแลกเปลี่ยนเรียนรู้ ซักถาม ระหว่างครูด้วยกันให้ทุกคนร่วมกันวิพากษณ์แผนการสอน และหลังจากจัดการเรียนการสอนไปแล้วนำมาสะท้อนการสอนของครู ว่ามีปัญหาอุปสรรคอะไรอย่างไร
6.) ครูควรพัฒนาศาสตร์ความรู้ในรายวิชานั้นๆ เพื่อเพิ่มความรู้ เพิ่มความมั่นใจของครู พัฒนาทักษะการเรียนของครู

ผลที่เกิดกับครู
1. ครูตื่นเต้นมากขึ้น เหนื่อยขึ้น เพราะ ต้องเตรียมการสอนมากกว่าเดิม
2. ครูเปลี่ยนแปลงตนเอง จากเดิมบทบาทของคนเอง พูดเองเป็นหลัก
เปลี่ยนเป็นเปิดคลิป นำทำกิจกรรม นำเกม
3. ครูเป็นผู้รุปความรู้ที่ถูกต้อง หรือ ใช้สื่อการสอน อรุปองค์ความรู้ที่ถูกต้อง
4. ครูเข้าใจผู้เรียนมากขึ้น เช่น เดิมครูคิดว่าผู้เรียนทำไม่ใด้ พูดไม่ใด้ แต่เมื่อ
กระตุ้นอย่างถูกวิธี ผู้เรียนมีความรู้และทักษะในตัวมาก กิดได้มากกว่าที่ครูคาคหวัง
ผลที่เกิดกับกรู
. เดิมกรูสอนแล้วผู้เรียนไม่เข้าใจ ครูจะไม่พอใจโกรธ ว่าผู้เรียนไม่ตั้งใจเรียน
แต่เมื่อใช้ BBL ครูได้สะท้อนคิดย้อนกลับว่า ผู้เรียนไม่อยากเรียนเพราะตัวครูสอน
ไม่เร้าใจมากเพียงพอ
6. ครูต้องพัฒนาตนเองในหลายด้าน เช่น ต้องตั้งใจฟังแล้วจับประเด็นคำดอบ
ต้องตั้ง คำถามให้ต่อเนื่อง และเป็นคำถามที่นำไปสู่การเรียนรู้ ไม่ใช่ถามออย ๆ
ต้องถามอย่างมีจุดมุ่งหมายว่าจะให้ผู้เรียนเกิดความคิดอย่างไร

ผลที่เกิดกับผู้เรียน
1. ผู้เรียนบอกว่า ครูมาแปลก รอว่าครูจะให้ทำกิจกรรมอะไรต่อไป อยู่พบกลุ่มได้นานขึ้นกว่าเดิม
2. ผู้เรียนบอกว่าเขามีความสุข สนุกสนานกับการเรียนแบบนี้
3. ผู้เรียนชอบมากกว่าการเรียนแบบเดิม
4.ผู้เรียนเปลี่ยนพฤดิกรรม เช่น เดิม เมื่อเบื่อจะหยิบโทรศัพท์ที่มาเล่นไลน์ tiktok เล่น ine จะเปลี่ยนเป็นวางโทรศัทท์ไว้ใกล้ ๆ ใช้โทรศัพท์ เมื่อครูให้ค้นหาคำศัพท์ หรือค้นหาหัวเรื่องที่เรียน
ผลที่เกิดกับผู้เรียน
5. ผู้เรียนกล้าแสดงออกมากขึ้น เช่น จากเดิมจะเกี่ยงกันออกไปนำเสนอหน้าชั้นเรียน จะเปลี่ยนเป็นยอมรับว่าเป็นหน้าที่ที่ทุกคนต้องหมุนเวียนสับเปลี่ยน ออกไปทำนำเสนอ
6. การใช้ภาษาของผู้เรียน มีการเรียบเรียงคำพูดที่กระชับ และได้ใจความมากขึ้น
7. บางกลุ่มมีจำนวนผู้เข้าสอบมากขึ้น
8. บางกลุ่มมีผลสัมฤทธิ์ในภาพรวมเพิ่มขึ้น

ข้อดีสำหรับครูและผู้เรียน
1. ครูเปลี่ยนกระบวนการสอน
2. ผู้เรียนพัฒนาบุคลิกที่ดี มีการโต้ตอบ และร่วมกิจกรรมมากขึ้น
3. บรรยากาศของการเรียนการสอนดีขึ้น
4. นักศึกษามาพบกลุ่มมากขึ้น
5. ผลสัมฤทธิ์ดีขึ้นตามลำดับ

การวัดผลต้องใช้ตัวชี้วัดของหลักสูตรมาดูด้วย 
วัตถุประสงค์กับการประเมินต้องสอดคล้องกัน

BBL Roadmap
1.Setup เตรียมความพร้อมสมอง สังเกตจากแววตา สีหน้า ท่าทาง
2.TIE IN ทบทวนความรู้เดิมเชื่อมโยงความรู้ใหม่
ตั้งคำถาม ให้เล่าเรื่อง เล่นเกม ทำแบบทดสอบ
3.ENGAGE เร้าความน่าสนใจ 
4.PERFORM ลงมือทำ การทำแบบฝึกหัด ลองลงมือทำ
5.USE ฝึกปฏิบัติ ลงมือทำในสิ่งที่ถูกต้อง ฝึกฝนให้เกิดทีกษะ
6.PACK สรุป สรุปความรู้กับผู้เรียนว่าได้เรียนรู้อะไรในการเรียนบ้าง

กิจกรรม 
1. หารายวิชา 1 รายวิชา 1 ครั้ง มาทำแผน BBL 6 ขั้นตอน
2.สื่อที่นำมาใช้สอดคล้อง หลากหลาย กับแผนที่นำมาใช้ สื่อที่นำมาย้ำ ซ้ำ ทำ
3. สาธิตการสอน 15 นาที ทั้ง 6 ขั้น 
4. แผนการสอน 10 ชุด 







สัดส่วน อัตราส่วน มาตราส่วน