วันที่ 24 สิงหาคม 2559
นายศุภชนัฏฐ์ หลักเมือง ผู้อำนวยการสำนักงาน.กศน.จังหวัดเพชรบุรี บรรยายพิเศษเรื่องยุทธศาสตร์และจุดเน้นการดำเนินงาน กศน.
PDCA แผนเป็นตัวตั้งต้น การดำเนินการ เป็นกระบวนการที่ต้องมีคุณภาพตั้งแต่ต้น มีกระบวนการตรวจสอบ การกำกับดูแล ให้แผนเป็นไปตามเป้าหมายที่ตั้งไว้ แล้วนำมาประมวลผลเพื่อจัดการพัฒนาต่อไป
วิเคราะห์ SWOT การทำ จุดแข็ง/จุดอ่อน ดูองค์กรของเราเป็นหลัก โอกาส/อุปสรรค ปัจจัยภายนอก ต้องแยกให้ขาดจากกัน
นางโกศล หลักเมือง รองผู้อำนวยการ สำนักงาน กศน.จังหวัดประจวบคีรีขันธ์ บรรยายพิเศษเรื่องยุทธศาสตร์ สำนักงาน กศน.ประจวบคีรีขันธ์ การทำแผนพัฒนาคุณภาพการศึกษา ระยะ 4 ปี แยกในเรื่องการจัดการ แต่ต้องสัมพันธ์กันทั้ง กศน.อำเภอ กศน.ตำบล
นางนฤมล อันตะริกานนท์ ศึกษานิเทศก์ สำนักงาน กศน.จังหวัดชัยนาท บรรยายเรื่องแผนพัฒนาคุณภาพการศึกษา
สิ่งที่ต้องมีก่อนทำแผนพัฒนา
แผนพัฒนารอบที่ผ่านมา
ประเมินภายนอก รอบ 2 รอบ 3
นโยบายแต่ละปี
SWOT เป็นหัวใจสำคัญที่จะนำไปกำหนดกลยุทธ โครงการ/กิจกรรม
มาตรฐานการศึกษา กศน.
แผนพัฒนาต้องมีการรับรองแผนจากประธานกรรมการสถานศึกษา
การคิด 5 รูปแบบ
ตัวอย่างการกำหนดพันธกิจ
มุ่งพัฒนาให้ผู้เรียนมีมาตรฐานด้านความรู้พื้นฐาน โดดเด่นด้านการคิด มีจิตรรักการใฝ่รู้เน้นครูสู่ผู้เรียนเป็นสำคัญ บริหารร่วมสร้างสรรค์ สัมพันธ์ชุมชน ประสิทธิผล หลักสูตรสถานศึกษาประชาชนพึงพอใจ
ต้องแตกวิสัยทัศน์ออกมาเป็นพันธกิจให้ครอบคลุมท้ังหมด
เช่น
พันธกิจ
พันธกิจ
1 จัดกิจกรรมส่งเสริมให้ผู้เรียนมีความรู้และทักษะที่จำเป็นตามหลักสูตร เอาพันธกิจมากำหนดเป็นเป้าประสงค์(สิ่งที่จะเกิดขึ้น)
การกำหนดพันธกิจ
การกำหนด
การกำหนดตัวชี้วัดความสำเร็จ
ตัวชี้วัดความสำเร็จ
| |
ร้อยละของครูมีรายงานการวิจัยในชั้นเรียน คนละ 1 เรื่อง/ปี
|
ความแตกต่างระหว่างยุทธศาสตร์และกลยุทธ์
ยุทธศาสตร์ระดับนโยบาย
กลยุทธ์ ระดับปฏิบัติการ /พัฒนา/สนับสนุน/ชลอ/ยกเลิก เป็นกลยุทธทั้งหมด
โครงการ/กิจกรรมที่สอดคล้องกับกลยุทธ์
กลยุทธ์
|
ชื่อโครงการ/กิจกรรม
|
1
|
แผนพัฒนา ทำขึ้นเพื่อเป็นแนวทาง การจัดทำแผนปีต้องนำแผนพัฒนามาดูด้วย
แผนงาน
ให้ผู้อบรมวิเคราะห์จุดแข็ง/จุดอ่อน โอกาส/อุปสรรค ปรัชญา/วิสัยทัศน์/อัตลักษณ์ แล้วมานำเสนอในการอบรบ
วันที่ 25 สิงหาคม 2559
นางนฤมล อันตะริกานนท์ ศึกษานิเทศก์ สำนักงาน กศน.จังหวัดชัยนาท ให้ผู้เข้ารับการอบรม นำเสนอ SWOT ปรัชญา วิสัยทัศน์ พันธกิจ เป้าประสงค์ ตัวชี้วัดความสำเร็จ ของ กศน.อำเภอตนเอง
comment
ใช้คำว่า ส่งเสริม สนันสนุนและจัดร่วมกับภาคีเครือข่าย
พยายาม นำจุดเด่น จุดแข็งของ กศน.อำเภอตนเองมาเป็นวิสัยทัศน์
อย่างสร้างสรรค์ เป็นคำกว้าง คิดอย่างสร้างสรรค์ ความหมายคืออะไร บอกได้ไหม จัดกิจกรรมอย่างไร โครงการที่จะบรรจุในแผนพัฒนาเป็นโครงการร่มใหญ่
การเก็บสรุปรายงาน
p การได้มาซึ่งแผนการทำงาน โครงการ
d อธิบายขั้นตอนการทำงานตั้งแต่ต้นจบจบ
c แบบที่มีอยู่แล้วนำเอามาปรับ แบบประเมินวัดความพึงพอใจและสรุป
a เอาจากส่วนที่ 3 นำข้อเสนอแนะมาพัฒนาปรับปรุง
SWOT กศน.อำเภอบางสะพาน
S คือ จุดแข็ง
1.ความร่วมมือภายในองศ์กรอย่างเข้มแข็ง
2.พื้นที่ กศน.ตำบล เป็นที่ตั้งแบบเอกเทศ
3.นักศึกษามีความมือในการจัดกิจกรรมและการทำงาน
4.ผู้บริหารมีการส่งเสริมครูให้มีใบประกอบวิชาชีพ
5.นักศึกษามีทักษะกระบวนการคิดโครงงานและนำไปแข่งขันได้
6.ครูมีความรู้ความสามารถในการพัฒนาผู้เรียนให้มีความรู้จากทรัพยากรและแหล่งเรียนรู้ในพื้นที่
7. นักศึกษามีความรู้ความใฝ่เรียนที่หลากหลาย สามารถนำไปพัฒนาคุณภาพชีวิตได้อย่างมีประสิทธิภาพ
8.ผู้บริหารและครูได้สนับสนุนการจัดการเรียนการสอนและการจัดโครงการที่มีเนื้อหาสอดคล้องกับปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง
W คือ จุดอ่อน
1. นักศึกษามีผลการสอบประเมินผลระดับชาติ N-Net ค่อนข้างต่ำ
2. สถานศึกษาขาดวัสดุอุปกรณ์ที่พอเพียงต่อการทำงานของบุคลากรของสำนักงาน
3. กศน.ตำบลขาดวัสดุอุปกรณ์ที่เอื้อต่อการจัดการศึกษาในกศน.ตำบล เช่น คอมพิวเตอร์ เครื่องฉายโปรเจคเตอร์
4. ครู กศน.ตำบลมีภาระงานที่ต้องจัดการหลายด้านทั้งงานจากภาคีเครือข่ายและงานนโยบายจากสำนักงาน กศน. จึงทำให้การทำงานไม่ค่อยมีประสิทธิภาพเท่าที่ควร
5. ครูไม่ได้นำแผนการสอนที่มีอยู่ไปใช้ในการจัดการเรียนการสอนได้อย่างครบถ้วน
6. นักศึกษาไม่มาเรียน พบกลุ่มอย่างสม่ำเสมอ
7. สถานศึกษาขาดผู้บริหารที่มีการงานในระยะยาวจึงทำให้ระบบการทำงานไม่ต่อเนื่อง
8. บุคลากรที่ได้รับคำสั่งยังไม่ปฏิบัติตามคำสั่งเท่าที่ควรและบุคลากรบางคนไม่ได้ทำงานตามที่ได้รับมอบหมายจึงทำให้การทำงานที่ซ้ำซ้อน
9. บุคลากรยังขาดความรู้ความเข้าใจในการทำงานของ กศน.
10.ยังมีการขาดการลงปฏิบัติหน้าที่ใน กศน.ตำบลเท่าที่ควร
11.บุคลากรมีความคิดเห็นในการแก้ปัญหาการทำงานที่แตกต่างกันไป
12. บุคลากรยังมีการสื่อสารในการทำงานที่ยังเข้าใจไม่ตรงกัน
0 คือ โอกาส
1. เครือข่ายมีความร่วมมือในการทำงานกับสถานศึกษาได้เป็นอย่างดี
2. ทรัพยากร/ พื้นที่มีความเหมาะสมในด้านทรัพยากรบุคคล ปราชญ์ชาวบ้าน ภูมิปัญยท้องถิ่น
3. นโยบายของสำนักงาน กศน. เอื้อต่อการจัดการศึกษาต่อเนื่องให้กับประชาชนในชุมชน
4. มีคู่มือการทำงานในแต่ละงานของกศน.อย่างเป้นระบบ และมีแบบแผน
5. พื้นที่ภายในอำเภอบางสะพานมีแหล่งเรียนรู้ที่หลากหลาย เอื้อต่อการจัดการศึกษาของ กศน.เป็นอย่างดี
6. ภาคีเครือข่ายให้การสนับสนุนงบประมาณในการพัฒนาแหล่งเรียนรู้
7. สถานศึกษามีการส่งเสริมและสนับสนุนให้ประชาชนและนักศึกษานำปรัชญาของเศรษฐกิจพอพัยงไปใช้ในการดำเนินชีวิตประจำวัน
8. นโยบายสำนักงานมีการส่งเสริมการพัฒนาบุคลากรในเรื่องของการเรียนรู้ปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงเพื่อให้นำความรู้มาเผยแพร่ให้กับประชาชนและนักศึกษา
T คือ อุปสรรค
1. บริบทของพื้นที่มีระยะทางค่อนข้างไกล ระหว่าง กศน.อำเภอและ กสน.ตำบล
2. นโยบาย ของ กศน.ที่เกี่ยวกับงานภาคีเครือข่ายมีค่อนข้างมากเกินไปส่งผลกระทบต่อภารกิจของ กศน.ได้ไม่เต็มที่
3. นักศึกษาหรือกลุ่มเป้าหมายบางพื้นที่ยังขาดระบบสัญญาณโทรศัพท์และอินเตอร์เน็ต จึงเป็นอุปสรรคในการติดต่อประสานงาน
4. นักศึกษาบางคนมีอาชีพที่ไม่แน่นอน ต้องย้ายที่ทำงาน หรือที่อยู่ทำให้ขาดสอบ ขาดความต่อเนื่องในการลงทะเบียนเรียนเป็นผลกระทบต่อการจบการศึกษาตามหลักสูตร
5. ห้องสมุด กศน.อำเภอบางสะพาน ยังมีความคับแคบ ขาดบรรยากาศต่อการใฝ่เรียนรู้ของประชาชนและนักศึกษา
วันที่ 25 สิงหาคม 2559
นางนฤมล อันตะริกานนท์ ศึกษานิเทศก์ สำนักงาน กศน.จังหวัดชัยนาท ให้ผู้เข้ารับการอบรม นำเสนอ SWOT ปรัชญา วิสัยทัศน์ พันธกิจ เป้าประสงค์ ตัวชี้วัดความสำเร็จ ของ กศน.อำเภอตนเอง
comment
ใช้คำว่า ส่งเสริม สนันสนุนและจัดร่วมกับภาคีเครือข่าย
พยายาม นำจุดเด่น จุดแข็งของ กศน.อำเภอตนเองมาเป็นวิสัยทัศน์
อย่างสร้างสรรค์ เป็นคำกว้าง คิดอย่างสร้างสรรค์ ความหมายคืออะไร บอกได้ไหม จัดกิจกรรมอย่างไร โครงการที่จะบรรจุในแผนพัฒนาเป็นโครงการร่มใหญ่
การเก็บสรุปรายงาน
p การได้มาซึ่งแผนการทำงาน โครงการ
d อธิบายขั้นตอนการทำงานตั้งแต่ต้นจบจบ
c แบบที่มีอยู่แล้วนำเอามาปรับ แบบประเมินวัดความพึงพอใจและสรุป
a เอาจากส่วนที่ 3 นำข้อเสนอแนะมาพัฒนาปรับปรุง
SWOT กศน.อำเภอบางสะพาน
S คือ จุดแข็ง
1.ความร่วมมือภายในองศ์กรอย่างเข้มแข็ง
2.พื้นที่ กศน.ตำบล เป็นที่ตั้งแบบเอกเทศ
3.นักศึกษามีความมือในการจัดกิจกรรมและการทำงาน
4.ผู้บริหารมีการส่งเสริมครูให้มีใบประกอบวิชาชีพ
5.นักศึกษามีทักษะกระบวนการคิดโครงงานและนำไปแข่งขันได้
6.ครูมีความรู้ความสามารถในการพัฒนาผู้เรียนให้มีความรู้จากทรัพยากรและแหล่งเรียนรู้ในพื้นที่
7. นักศึกษามีความรู้ความใฝ่เรียนที่หลากหลาย สามารถนำไปพัฒนาคุณภาพชีวิตได้อย่างมีประสิทธิภาพ
8.ผู้บริหารและครูได้สนับสนุนการจัดการเรียนการสอนและการจัดโครงการที่มีเนื้อหาสอดคล้องกับปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง
W คือ จุดอ่อน
1. นักศึกษามีผลการสอบประเมินผลระดับชาติ N-Net ค่อนข้างต่ำ
2. สถานศึกษาขาดวัสดุอุปกรณ์ที่พอเพียงต่อการทำงานของบุคลากรของสำนักงาน
3. กศน.ตำบลขาดวัสดุอุปกรณ์ที่เอื้อต่อการจัดการศึกษาในกศน.ตำบล เช่น คอมพิวเตอร์ เครื่องฉายโปรเจคเตอร์
4. ครู กศน.ตำบลมีภาระงานที่ต้องจัดการหลายด้านทั้งงานจากภาคีเครือข่ายและงานนโยบายจากสำนักงาน กศน. จึงทำให้การทำงานไม่ค่อยมีประสิทธิภาพเท่าที่ควร
5. ครูไม่ได้นำแผนการสอนที่มีอยู่ไปใช้ในการจัดการเรียนการสอนได้อย่างครบถ้วน
6. นักศึกษาไม่มาเรียน พบกลุ่มอย่างสม่ำเสมอ
7. สถานศึกษาขาดผู้บริหารที่มีการงานในระยะยาวจึงทำให้ระบบการทำงานไม่ต่อเนื่อง
8. บุคลากรที่ได้รับคำสั่งยังไม่ปฏิบัติตามคำสั่งเท่าที่ควรและบุคลากรบางคนไม่ได้ทำงานตามที่ได้รับมอบหมายจึงทำให้การทำงานที่ซ้ำซ้อน
9. บุคลากรยังขาดความรู้ความเข้าใจในการทำงานของ กศน.
10.ยังมีการขาดการลงปฏิบัติหน้าที่ใน กศน.ตำบลเท่าที่ควร
11.บุคลากรมีความคิดเห็นในการแก้ปัญหาการทำงานที่แตกต่างกันไป
12. บุคลากรยังมีการสื่อสารในการทำงานที่ยังเข้าใจไม่ตรงกัน
0 คือ โอกาส
1. เครือข่ายมีความร่วมมือในการทำงานกับสถานศึกษาได้เป็นอย่างดี
2. ทรัพยากร/ พื้นที่มีความเหมาะสมในด้านทรัพยากรบุคคล ปราชญ์ชาวบ้าน ภูมิปัญยท้องถิ่น
3. นโยบายของสำนักงาน กศน. เอื้อต่อการจัดการศึกษาต่อเนื่องให้กับประชาชนในชุมชน
4. มีคู่มือการทำงานในแต่ละงานของกศน.อย่างเป้นระบบ และมีแบบแผน
5. พื้นที่ภายในอำเภอบางสะพานมีแหล่งเรียนรู้ที่หลากหลาย เอื้อต่อการจัดการศึกษาของ กศน.เป็นอย่างดี
6. ภาคีเครือข่ายให้การสนับสนุนงบประมาณในการพัฒนาแหล่งเรียนรู้
7. สถานศึกษามีการส่งเสริมและสนับสนุนให้ประชาชนและนักศึกษานำปรัชญาของเศรษฐกิจพอพัยงไปใช้ในการดำเนินชีวิตประจำวัน
8. นโยบายสำนักงานมีการส่งเสริมการพัฒนาบุคลากรในเรื่องของการเรียนรู้ปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงเพื่อให้นำความรู้มาเผยแพร่ให้กับประชาชนและนักศึกษา
T คือ อุปสรรค
1. บริบทของพื้นที่มีระยะทางค่อนข้างไกล ระหว่าง กศน.อำเภอและ กสน.ตำบล
2. นโยบาย ของ กศน.ที่เกี่ยวกับงานภาคีเครือข่ายมีค่อนข้างมากเกินไปส่งผลกระทบต่อภารกิจของ กศน.ได้ไม่เต็มที่
3. นักศึกษาหรือกลุ่มเป้าหมายบางพื้นที่ยังขาดระบบสัญญาณโทรศัพท์และอินเตอร์เน็ต จึงเป็นอุปสรรคในการติดต่อประสานงาน
4. นักศึกษาบางคนมีอาชีพที่ไม่แน่นอน ต้องย้ายที่ทำงาน หรือที่อยู่ทำให้ขาดสอบ ขาดความต่อเนื่องในการลงทะเบียนเรียนเป็นผลกระทบต่อการจบการศึกษาตามหลักสูตร
5. ห้องสมุด กศน.อำเภอบางสะพาน ยังมีความคับแคบ ขาดบรรยากาศต่อการใฝ่เรียนรู้ของประชาชนและนักศึกษา
วิสัยทัศน์
กศน.อำเภอบางสะพาน
ประสานงานเครือข่ายอย่างต่อเนื่อง
เน้นจัดการศึกษาเพื่อประชาชนให้เป็นบุคคลใฝ่เรียนรู้
มุงสู่ปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง
วิสัยทัศน์
|
พันธกิจ
|
กศน.อำเภอบางสะพาน ประสานงานเครือข่ายอย่างต่อเนื่อง เน้นจัดการศึกษาอย่างสร้างสรรค์เพื่อให้นักศึกษาและประชาชนเป็นบุคคลใฝ่เรียนรู้ มุ่งสู่ปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง
|
1.
ส่งเสริมการจัดกิจกรรมร่วมกับภาคีเครือข่ายอย่างต่อเนื่องและมีประสิทธิภาพ
2.
จัดโครงการ/ กิจกรรม
ให้กับผู้เรียนมีความสามารถ คิดวิเคราะห์อย่างสร้างสรรค์
3.
ส่งเสริมให้นักศึกษาและประชาชนมีนิสัยรักการอ่าน
และใฝ่เรียนรู้ตลอดชึวิต
4.
ส่งเสริมให้ชุมชนมีการเรียนรู้ตลอดชีวิตตามแนวปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงเพื่อพัฒนาอย่างยั่งยืน
|
เป้าประสงค์
พันธกิจ
|
เป้าประสงค์
|
1.
ส่งเสริมการจัดกิจกรรมร่วมกับภาคีเครือข่ายอย่างต่อเนื่องและมีประสิทธิภาพ
2.
จัดโครงการ/ กิจกรรม
ให้กับผู้เรียนมีความสามารถ
คิดวิเคราะห์อย่างสร้างสรรค์
3.
ส่งเสริมให้นักศึกษาและประชาชนมีนิสัยรักการอ่าน
และใฝ่เรียนรู้ตลอดชีวิต
4.
ส่งเสริมให้ชุมชนมีการเรียนรู้ตลอดชีวิตตามแนวปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงเพื่อพัฒนาอย่างยั่งยืน
|
1.
ภาคีเครือข่ายเข้ามามีส่วนร่วมในการจัดกิจกรรม/การศึกษาตลอดชีวิตอย่างเข้มแข็ง
2.
ผู้เรียนมีความสามารถคิดวิเคราะห์อย่างสร้างสรรค์และมีประสิทธิภาพ
3.
นักศึกษาและประชาชนมีนิสัยรักการอ่านและนำความรู้ที่ได้รับไปพัฒนาคุณภาพชีวิต
4.
ชุมชนได้น้อมนำหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงเพื่อพัฒนาคุณภาพชีวิตอย่างยั่งยืน
|
ตัวชี้วัด
เป้าประสงค์
|
ตัวชี้วัด
|
1.ภาคีเครือข่ายเข้ามามีส่วนร่วมในการจัดกิจกรรม/การศึกษาตลอดชีวิตอย่างเข้มแข็ง
2.ผู้เรียนมีความสามารถคิดวิเคราะห์อย่างสร้างสรรค์และมีประสิทธิภาพ
3.นักศึกษาและประชาชนมีนิสัยรักการอ่านและนำความรู้ที่ได้รับไปพัฒนาคุณภาพชีวิต
4.ชุมชนได้น้อมนำหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงเพื่อพัฒนาคุณภาพชีวิตอย่างยั่งยืน
|
1.สถานศึกษามีการจัดกิจกรรมและโครงการร่วมกับภาคีเครือข่าย อย่างน้อยปีละ 10
โครงการ/กิจกรรม
2.ร้อยละ 80 ของผู้เรียนมีความคิดวิเคราะห์อย่างสร้างสรรค์
3.ร้อยละ 80 ของนักศึกษาและประชาชนมีนิสัยรักการอ่าน
4. ร้อยละ 80 ของประชาชนในชุมชนนำปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงไปใช้ในการดำเนินชีวิต
|
ตัวอย่าง
ปรัชญา
ปรัชญา
คิดเป็น
ทำเป็น แก้ปัญหาเป็น
อัตลักษณ์
เรียนรู้อย่างสร้างสรรค์ (ครู บุคลากร กศน.อำเภอบางสะพาน พยายามคิดกิจกรรมการเรียนรู้ใหม่ ๆ ที่สร้างสรรค์ ความคิดของนักศึกษา กศน.อำเภอบางสะพาน ให้เป็นคนคิดเป็น คิดสร้างสรรค์ ผ่านกระบวนการเรัยนรู้รูปแบบใหม่ เช่น การจัดกระบวนการเรียนการสอนที่สอนวิธีคิด เช่น การสอนในนักศึกษาออกแบบการจัดกิจกรรมพัฒนาคุณภาพชีวิตของผู้เรียนเอง หรือการเรียนรู้รูปแบบโครงงาน อันจะเห็นได้จากมีโครงการประกวดความคิดสร้างสรรคของนักศึกษารองรับในทุกปีงบประมาณ เพื่อให้นักศึกษาสามารถเรียนรู้ได้อย่างสร้างสรรค์ตามอัตลักษณ์ กศน.อำเภอบางสะพาน)
*ดังนั้นครูต้องเน้นการสร้างสรรค์กิจกรรมต่าง ๆแก่ผู้เรียน* เอกลักษณ์
สถานศึกษาพอเพียง (มาจากจุดแข็งของสถานศึกษาซึ่งมีพื้นที่กว้าง เหมาะแก่การจัดกระบวนการเรียนรู้ตามหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง และกศน.ตำบลของกศน.อำเภอบางสะพาน ก็มีพื้นที่กว้าง หากครูสามารถคิดสร้างสรรค์กิจกรรม โครงการมารองรับก็จะเน้นย้ำเอกลักษณ์สถานศึกษาพอเพียงได้)
วันที่ 26 สิงหาคม 59
นางนฤมล อันตะริกานนท์ ศึกษานิเทศก์ สำนักงาน กศน.จังหวัดชัยนาท บรรยาย เรื่อง ระบบบันทึกข้อมูล SAR ออนไลน์ ส่งภายในกันยายน 59
ซึ่งระบบแขวนไว้หน้าเว็บไซด์สำนักงาน กศน.
เทคนิคตัวแบ่งหน้า การทำเลขหน้า การไม่ให้เห็นเลขหน้า การทำเลขหน้า ก ข ค
คิดเอกลักษณ์สถานศึกษาใหม่
นายศุภชนัฏฐ์ หลักเมือง ผู้อำนวยการสำนักงาน.กศน.จังหวัดเพชรบุรี มอบหมายภารกิจและกล่าวปิดโครงการ
*ดังนั้นครูต้องเน้นการสร้างสรรค์กิจกรรมต่าง ๆแก่ผู้เรียน* เอกลักษณ์
สถานศึกษาพอเพียง (มาจากจุดแข็งของสถานศึกษาซึ่งมีพื้นที่กว้าง เหมาะแก่การจัดกระบวนการเรียนรู้ตามหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง และกศน.ตำบลของกศน.อำเภอบางสะพาน ก็มีพื้นที่กว้าง หากครูสามารถคิดสร้างสรรค์กิจกรรม โครงการมารองรับก็จะเน้นย้ำเอกลักษณ์สถานศึกษาพอเพียงได้)
วันที่ 26 สิงหาคม 59
นางนฤมล อันตะริกานนท์ ศึกษานิเทศก์ สำนักงาน กศน.จังหวัดชัยนาท บรรยาย เรื่อง ระบบบันทึกข้อมูล SAR ออนไลน์ ส่งภายในกันยายน 59
ซึ่งระบบแขวนไว้หน้าเว็บไซด์สำนักงาน กศน.
เทคนิคตัวแบ่งหน้า การทำเลขหน้า การไม่ให้เห็นเลขหน้า การทำเลขหน้า ก ข ค
คิดเอกลักษณ์สถานศึกษาใหม่
นายศุภชนัฏฐ์ หลักเมือง ผู้อำนวยการสำนักงาน.กศน.จังหวัดเพชรบุรี มอบหมายภารกิจและกล่าวปิดโครงการ