เมื่อวันที่ 16 พฤศจิกายน 2564 นายปฐมพร ธัมมาภิรัตตระกูล ข้าราชการครู กศน.อำเภอสิงหนคร เข้าร่วมโครงการอบรมเชิงปฏิบัติการพัฒนาข้าราชการครูและบุคลากรทางการศึกษาเพื่อการประเมินตำแหน่งให้มีหรือเลื่อนวิทยฐานะตามหลักเกณฑ์และวิธีการใหม่ ว.PA โดยนางเกษร ธานีรัตน์ ผู้อำนวยการสำนักงาน กศน.จังหวัดสงขลา เป็นประธานในพิธีเปิดโครงการฯ ผ่านระบบ Google Meet โดยมีนายประเสริฐ หอมดี ข้าราชการบำนาญ อดีตผู้ตรวจราชการกระทรวงศึกษาธิการเป็นวิทยากร
พิจารณาประเมินเลื่อนขั้นเงินเดือน
คงวิทยฐานะ ตาม ม.55 ทำแล้วไม่ผ่านอาจลด หรือไม่ให้วิทยฐานะ
การขอมี/เลื่อนวิทยฐานะ (1 ตุลาคม 2564 - 30 กันยายน 2565)
วิเคราะห์ประเด็นท้าทาย เช่น งานพื้นฐาน ผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน คิดเรื่องเล็ก ๆ แต่ส่งผลถึงผู้เรียน ผู้เรียนมีพัฒนาการ เป็นรายวิชาได้ ยกระดับผลสัมฤทธิ์รายวิชานั้น N-NET ผลสัมฤทธิ์อยู่ในระดับใด ผู้เรียนขาดสอบ ไม่ค่อยมาพบกลุ่ม ครูต้องประเมินกับผู้เรียน
ผู้บริหาร ผลเกิดขึ้นกับผู้เรียน ครู สถานศึกษา
ก.ค.ศ. ปรับมาตราฐานตำแหน่งใหม่
ทำข้อตกลง Performance Agreeent : วPA กับผู้บริหาร ในด้านหน้าที่ครู 1.จัดกิจกรรม 2.ส่งเสริมสนับสนุนการเรียนรู้ 3.พัฒนาตนเอง
ประธานกรรการ (ผู้บริหาร) แต่งตั้งกรรมการประเมิน มีนาคม - เมษายน ประเมินจริง กันยายน
องค์ประกอบ PA ตามมาตรฐานตำแหน่ง
ส่วนที่ 1 ข้อตกลงในการพัฒนางาน
1.การปฏิบัติงานตามมาตราฐานตำหน่งและภาระงานตาม กศน.กำหนด
2.ผลการปฏิบัติงาน 1.จัดกิจกรรม 2.ส่งเสริมสนับสนุนการเรียนรู้ 3.พัฒนาตนเอง
ส่วนที่ 2 ประเด็นท้าทาย
ผลลัพธ์การเรียนรู้ของผู้เรียน **ผลลัพธ์ต้องเกิดกับผู้เรียน**
ขั้นตอนกระบวนการ
สอดคล้องเป้าหมายสถานศึกษานโยบายหน่วยงานกรรมการ 3 คน ประเมิน
ผอ.แต่งตั้ง 3 คน : ผู้บริหาร ประธาน /ศน.อาจารย์มหาวิทยาลัย ผศ.ดร. /ผอ. ครูเกษียน ถ้าไม่มี ผอ.จังหวัดแต่งตั้ง ประเมินครึ่งปีเพื่อเลื่อนเงินเดือน (ประมาณ มีนาคม - เมษายน)
กรรมการประเมินตามแบบ ก.ค.ศ. PA1/ส PA2/ส PA3/ส
ผอ.นำผลเข้าสู่ DPA ทุกรอบ
มีภาระงานตาม ก.ค.ศ.กำหนด
ผลต้องผ่าน 70% ขึ้นไป
เวลา 4 ปีติดต่อกัน
ผล PA 3 รอบ 70% ขึ้นไป
วินัย 4 ปีย้อนหลัง