เมื่อวันที่ 1 กุมภาพันธ์ 2564 นายปฐมพร ธัมมาภิรัตตระกูล ข้าราชการครู ได้ร่วมประชุมด้วยกระบวนการ PLC ณ ห้องประชุม กศน.อำเภอสิงหนคร โดยได้ประชุมเรื่องการนิเทศการศึกษาต่อเนื่อง ซึ่งได้ดำเนินการนำแบบทดสอบออนไลน์เข้ามาใช้ในการนิเทศด้วย เพื่อเพิ่มประสิทธิภาพ ลดความซ้ำซ้อน และสร้างระบบการเก็บข้อมูล หลักฐานการนิเทศอย่างเป็นระบบ
ค้นหาบทความในเว็บ
วันอาทิตย์ที่ 31 มกราคม พ.ศ. 2564
วันพฤหัสบดีที่ 28 มกราคม พ.ศ. 2564
20 มกราคม 2564 ร่วมงานพิธีฌาปนกิจศพ ภาคีเครือข่าย ของ กศน.ตำบลหัวเขา ณ วัดเขาน้อย อำเภอสิงหนคร จังหวัดสงขลา
เมื่อวันที่ 20 มกราคม 2564 นายปฐมพร ธัมมาภิรัตตระกูล ข้าราชการครู กศน.อำเภอสิงหนคร ร่วมงานพิธีฌาปนกิจศพ ภาคีเครือข่าย ของ กศน.ตำบลหัวเขา ณ วัดเขาน้อย อำเภอสิงหนคร จังหวัดสงขลา เพื่อร่วมไว้อาลัยกับครอบครัวภาคีเครือข่าย โดยในการนี้ ในวันที 23 มกราคม 2563ได้เป็นตัวแทน กศน.อำเภอสิงหนคร ทอดผ้าบังสุกุล ในงานพิธีพิธีฌาปนกิจศพ ด้วย
# ภาคีเครือข่าย
วันอังคารที่ 26 มกราคม พ.ศ. 2564
27 มกราคม 2564 เข้าร่วมกิจรรมจิตอาสาเราทำความดีเพื่อชาติศาสนา พระมหากษัตริย์
เมื่อวันที่ 27 มกราคม 2564 นายปฐมพร ธัมมาภิรัตตระกูล ข้าราชการครูและบุคลากร กศน.อำเภอสิงหนครได้รับมอบหมายจากผู้อำนวยการ ให้เข้าร่วมกิจรรมจิตอาสาเราทำความดีเพื่อชาติศาสนา พระมหากษัตริย์ ณ บริเวณหน้าตลาดสดอำเภอสิงหนคร เพื่อทำความสะอาดตลาดป้องกันโรคโควิด-19 ที่กำลังระบาดระลอกที่สอง
วันจันทร์ที่ 25 มกราคม พ.ศ. 2564
25 มกราคม 2564 นิเทศโครงการการจัดการศึกษาต่อเนื่องการพัฒนาสินค้าและออกแบบบรรจุภัณฑ์สินค้า
เมื่อวันที่ 25 มกราคม 2564 นายปฐมพร ธัมมาภิรัตตระกูล ข้าราชการครู กศน.อำเภอสิงหนครได้รับมอบหมายจากผู้อำนวยการ กศน.อำเภอสิงหนคร ให้นิเทศโครงการการจัดการศึกษาต่อเนื่องการพัฒนาสินค้าและออกแบบบรรจุภัณฑ์สินค้า ณ กศน.ตำบลบางเขียด โดยมีนางสาวเสาวนีย์ ใจโต ครูอาสาสมัคร กศน. เป็นคณะผู้นิเทศ
วันพฤหัสบดีที่ 21 มกราคม พ.ศ. 2564
16 มกราคม 2564 รายงานการเข้าร่วมชมนิทรรศการวันครู ซึ่งจัดขึ้นโดยคุรุสภา เพื่อเป็นการส่งเสริมให้ครูเข้าร่วมนิทรรศการออนไลน์ เรียนรู้และถอดบทเรียน เพื่อนำความรู้ที่ได้รับจากการชมนิทรรศการไปใช้ประโยชน์ในสถานศึกษา
เมื่อวันที่ 16 มกราคม 2564 นายปฐมพร ธัมมาภิรัตตระกูล ครู กศน.อำเภอสิงหนคร ได้เข้าร่วมชมนิทรรศการวันครู ซึ่งจัดขึ้นโดยคุรุสภา เพื่อเป็นการส่งเสริมให้ครูเข้าร่วมนิทรรศการออนไลน์ เรียนรู้และถอดบทเรียน เพื่อนำความรู้ที่ได้รับจากการชมนิทรรศการไปใช้ประโยชน์ในสถานศึกษาไม่มากก็น้อย โดยมีหัวข้อนิทรรศการ ดังนี้ 1.หัวข้อ Mind Set กระบวนทัศน์ใหม่วิธีคิดใหม่ 2. New Pedagogy ศาสตร์การสอน การเรียนรู้ใหม่ องค์ความรู้ใหม่ 3. Didital Literacy การรู้เท่าทันดิจิทัล การรู้เท่าทันโลกยุคใหม่ไร้พรมแดน 4. Best Practice แนวปฏิบัติที่ดีที่สุด ต้นแบบที่ยอดเยี่ยม ซึ่งเมื่อเข้ารับชมแล้วและมีการทำแบบทดสอบหลังการรับชมจะได้รับเกียรติบัตรการเข้าร่วมรับชมนิทรรศการ ระยะเวลาเข้าร่วมนิทรรศการ 20 ชั่วโมง โดยเรียนรู้นอกเวลาราชการ
1.หัวข้อ Mind Set กระบวนทัศน์ใหม่วิธีคิดใหม่
เรื่องที่ 1 การจัดการเรียนรู้ด้วย STEM EDUCATION ด้านอาชีวศึกษา
คือ การจัดการเรียนรู้เชิงรุกด้วยการบูรณาการข้ามสาระวิชาหรือสมรรถนะข้ามสายงาน Transversal Competencies มาเป็นองค์ประกอบในการจัดการเรียนรู้แบบใช้ความคิดสร้างสรรค์เป็นฐาน CBL วิทยาลัยการอาชีพนวมินทราชูทิศ กรุงเทพมหานคร
STEM EDUCATION เป็นการจัดการเรียนรู้ที่มุ่งให้ผู้เรียนเกิดทักษะการทำงานร่วมกัน การคิดวิเคราะห์แก้ปัญหาตามสถานการณ์ด้วยสมรรถนะข้ามสายงานที่ตรงกับการศึกษาใน
อาชีพใหม่ทักษะใหม่
แนวโน้มของโลกที่มีการเปลี่ยนแปลง พัฒนาขึ้นด้วยนวัตกรรมและความคิดสร้างสรรค์ ทำให้เกิดอาชีพใหม่ๆ อาชีพเดิมก็ต้องการทักษะของบุคลากรที่สูงขึ้น ในแง่ของศักยภาพด้านความรู้ความสามารถแทบจะครบทุกด้าน ไม่ได้เจาะจงแค่ความถนัดเฉพาะทางของสายอาชีพ แต่กลับเป็นความรู้ที่หลากหลาย คำว่า “ครบทุกด้าน” ก็ไม่ได้หมายความว่า ต้องมีความรู้เต็ม 100% ในทุกด้าน แต่เป็นการแบ่งทักษะความรู้ให้อยู่ในระดับที่เฉลี่ยในแต่ละด้าน พอเพียงที่จะเอาตัวรอดในศตวรรษที่ 21 ทักษะพื้นฐานที่สถาบันการศึกษากำหนดไว้ จึงจำเป็นที่จะต้องบูรณาการควบรวมศาสตร์สำคัญเข้าไว้ด้วยกัน นั่นคือ ศาสตร์สาขาวิชา วิทยาศาสตร์ (Science) เทคโนโลยี (Technology) วิศวกรรมศาสตร์ (Engineering) และคณิตศาสตร์ (Mathematics) ที่เมื่อก่อนนี้เป็นทักษะพื้นฐานที่ถูกแยกเป็นเอกเทศในหลักสูตร แล้วใครสนใจเรื่องไหนก็เจาะลึกลงไปที่ศาสตร์นั้นๆ ตามที่ถนัด แต่ในปัจจุบันนี้ การแข่งขันรอบด้านของในแง่แรงงานคุณภาพการศึกษา ศาสตร์ที่ว่ามาทั้ง 4 ต้องถูกนำมาควบรวมกันเป็นพื้นฐาน ผสานผ่านการนำเสนอในรูปแบบของการปฏิบัติ มากกว่าการท่องจำเนื้อหา หรือแค่นั่งฟังบรรยายทฤษฏีทางเดียว การปฏิบัติลงมือทำบทเรียนที่บรูณาการ ผสมผสานศาสตร์ทั้ง 4 นั้นเรียกว่า STEM (Science Technology Engineering and Mathematics)
เรื่องที่ 1 "50 ไอเดียการสอนต้นแบบที่สร้างสรรค์"
การพัฒนาดิจิทัลแพลตฟอร์มเพื่อส่งเสริม DOE จึงถือว่าเป็นอีกหนึ่งช่องทางที่จะสามารถส่งเสริมความเข้าใจแนวทางการจัดการเรียนการสอนตาม โดยดิจิทัลแพลตฟอร์มดังกล่าวเป็นต้นแบบสาธิตให้ครูได้เห็นตัวอย่างการจัดการเรียนการสอนที่ส่งเสริมให้เกิด DOE ช่วยให้ครูผ้สอนเกิดแรงบันดาลใจ เข้าใจ และเข้าถึงแนวคิดดังกล่าว นอกจากนี้ ยังเป็นช่องทางการติดตามการจัดการเรียนการสอนเพื่อให้เกิดผลลัพธ์ที่พึงประสงค์ของคนไทย 4.0 อีกรูปแบบหนึ่ง ซึ่งจะได้ผลตอบรับโดยตรงจากผู้เรียนแบบ real time จากระบบออนไลน์
ในโอกาสนี้ คุณครูหรือผู้สอนท่านใดสนใจรับชมไอเดียการสอนหรือต้องการร่วมแชร์ไอเดียการสอนของตนเองสามารถเข้าไปดูรายละเอียดเพิ่มเติมได้ที่ https://inskru.com/nomination?fbclid=IwAR1QYhRxeOFr6RvUhB26xGcq03haS8Uhwzux1p1H0k8vtM2EHpQevGDoxJY
เรื่องที่ 2 เว็บลิงค์ (Web Link) รวมสื่อดิจิทัลและนวัตกรรมการจัด การเรียนรู้เพื่อพัฒนาผู้เรียน
เรื่องที่ 3 แสงประทีปส่องทาง แสงสว่างแห่งพิบูลประชาสรรค์
ปัจจุบันโลกมีความเจริญก้าวหน้าอย่างก้าวกระโดด สืบเนื่องจากการเปลี่ยนแปลงทางสังคม แห่งยุคศตวรรษที่ 21 ส่งผลให้การศึกษาต้องเผชิญกับการเปลี่ยนแปลงที่เกิดขึ้นอย่างรวดเร็ว พลิกผัน และคาดไม่ถึง เยาวชนยุคใหม่จึงต้องมีทักษะที่จำเป็นอย่างยิ่งในการเรียนรู้และปรับตัว ครูผู้สอนจึงมีบทบาทสำคัญในการขับเคลื่อนการจัดการเรียนรู้ให้สอดคล้องกับความแตกต่างของผู้เรียนและสภาวการณ์ทางสังคม
ทั้งนี้ ครูผู้สอน จึงต้องช่วยเตรียมความพร้อมของเยาวชนให้เป็นผู้รู้จักคิด เรียนรู้ ทำงาน แก้ปัญหา สามารถสื่อสาร และอยู่ร่วมกับผู้อื่นได้ ตลอดจนการปลูกฝังทักษะที่จำเป็นในการเรียนรู้และปรับตัว ผ่านกลวิธีการสอน การสร้างเสริมทักษะการคิดวิเคราะห์ สังเคราะห์ และการคิดอย่างสร้างสรรค์ การผลิตสื่อประกอบการเรียนการสอน และการเลือกใช้สารสนเทศและเทคโนโลยี นอกจากนี้ครูผู้สอนต้องเปี่ยมไปด้วยคุณธรรม จริยธรรม ตลอดจนเป็นบุคคลแห่งการเรียนรู้และเป็นผู้นำทางวิชาการ
จากที่กล่าวมาย่อมเห็นว่า ครูผู้สอนเป็นส่วนสำคัญอย่างยิ่งในระบบการศึกษา และเป็นปัจจัยสำคัญ ที่จะทำให้การเรียนการสอนมีประสิทธิภาพ อันจะส่งผลให้ผู้เรียนบรรลุตามวัตถุประสงค์ของการสอนที่ตั้งไว้อย่างครบถ้วนสมบูรณ์ นักศึกษาชั้นปีที่ 4 สาขาวิชาภาษาไทย คณะครุศาสตร์ มหาวิทยาลัยราชภัฏ สวนสุนันทา จึงศึกษาและเก็บข้อมูลภายใต้หัวข้อ “แสงประทีปส่องทาง แสงสว่างแห่งพิบูลประชาสรรค์” จากครูชุรินทร ก้อนแก้ว โรงเรียนพิบูลประชาสรรค์ เพื่อนำเสนอภาระงานและบทบาทหน้าที่ของครู คุณลักษณะและมาตรฐานวิชาชีพครู ความเป็นครูวิชาชีพ การจัดการความรู้เกี่ยวกับวิชาชีพครู ในด้านเนื้อหาวิชาที่สอน กลวิธีการสอน การสร้างเสริมทักษะการคิดวิเคราะห์ การคิดสังเคราะห์ และการคิดสร้างสรรค์ กระบวนการแสวงหา และการเลือกใช้สารสนเทศ การสร้างความก้าวหน้าในวิชาชีพครู การพัฒนาวิชาชีพครูอย่างต่อเนื่อง การพัฒนาศักยภาพของผู้เรียน ซึ่งผู้ศึกษาเห็นว่าการศึกษาในหัวข้อข้างต้น จะเป็นองค์ประกอบสำคัญที่ช่วยต่อเติมช่องว่างในการพัฒนาต่อยอดความเป็นครูวิชาชีพของคณะผู้ศึกษา ตลอดจนช่วยให้เกิดความรู้ความเข้าใจถึงความสำคัญระหว่างบทบาทหน้าที่ความเป็นครูกับการศึกษาไทย ให้ชัดเจนมากยิ่งขึ้น ตลอดจนปลูกฝังทัศนคติที่ช่วยส่งเสริมและพัฒนาความเป็นครูด้านกระบวนการทางความคิด โดยเน้นผู้เรียนเป็นศูนย์กลางอีกด้วย
3. Didital Literacy การรู้เท่าทันดิจิทัล การรู้เท่าทันโลกยุคใหม่ไร้พรมแดน
เรื่องที่ 1 พลังครูวิถีใหม่ ฉลาดรู้เท่าทันดิจิทัล Digital literacy of Matthayom Watnairong School
โรงเรียนมัธยมวัดนายโรง มีการนำเทคโนโลยีมาใช้ในการบริหารจัดการ โดยเริ่มจากให้ครูและบุคลากรของโรงเรียนเข้าร่วมการอบรมการใช้งาน เพื่อสร้างความเข้าใจการใช้เทคโนโลยีให้มากยิ่งขึ้นและนำไปพัฒนาสื่อการเรียนการสอนให้แก่นักเรียนของโรงเรียน โดยโรงเรียนนำเทคโนโลยีมาใช้แต่ละส่วน ดังนี้
การใช้ (Use)
1. นักเรียน
- การจัดการเรียนการสอนออนไลน์
- การปรับพื้นฐานออนไลน์
- การสอบผ่านระบบออนไลน์
- การส่งข้อมูลประชาสัมพันธ์ผ่านระบบออนไลน์ เช่น การเลือกชุมนุมออนไลน์ โฮมรูม การประชุมระดับชั้น แนะแนวการศึกษาต่อ ระบบดูแลช่วยเหลือนักเรียน เป็นต้น
2. บุคลากรภายในโรงเรียน
ผู้บริหาร
- มีการนิเทศติดตามผ่านระบบออนไลน์
- การลงนามหนังสือออนไลน์
ครูและบุคลากรทางการศึกษา
- การประชาสัมพันธ์ผ่านระบบออนไลน์
- การอบรมผ่านระบบออนไลน์ทั้งครูไทยและครูต่างชาติ
- การพัฒนาครูและบุคลากรทางการศึกษาผ่านระบบออนไลน์ เช่น การเลื่อนวิทยฐานะ เป็นต้น
- การลาออนไลน์
- การส่งคำสั่ง หนังสือราชการออนไลน์
- การมาปฏิบัติราชการ
- การสื่อสารระหว่างหน่วยงานภายในโรงเรียน
- การขออนุญาตไปราชการ
- การแจ้งซ่อมของฝ่ายอาคารออนไลน์
- การประชุมออนไลน์
3. ผู้ปกครอง
- การประชุมผู้ปกครองออนไลน์
- การติดตามดูแลนักเรียน
- การประชาสัมพันธ์ผ่านทางออนไลน์
4. ชุมชน
- การประชาสัมพันธ์ผ่านสื่อโซเชียลมีเดีย เช่น เพจโรงเรียน เฟซบุ๊ค เว็บไซต์โรงเรียน
- อบรมการใช้เทคโลยีให้แก่บุคคลภายนอก
การเข้าใจ (Understand)
โรงเรียนมัธยมวัดนายโรง ได้มีการประชุมผู้ปกครอง เพื่อสร้างความเข้าใจในการใช้เทคโนโลยีและตระหนักถึงการใช้โซเชียลมีเดีย โดยใช้เทคโนโลยีเข้ามามีส่วนร่วม ดังนี้
- ประชุมผู้ปกครองออนไลน์
- การให้ความรู้เกี่ยวกับการใช้สื่อโซเชียล
- ระบบ SDQ การทำแบบออนไลน์
- การสแกนบัตรนักเรียนเข้า - ออกโรงเรียน
การสร้าง (Create)
โรงเรียนมัธยมวัดนายโรง ได้นำ Google App มาใช้เป็นเทคโนโลยีหลักในการบริหารงานภายในโรงเรียนและการจัดการเรียนการสอน โดยนำมาพัฒนาเพื่อใช้ในด้านต่าง ๆ ดังนี้
1. ด้านการจัดการเรียนการสอน
- การจัดการเรียนการสอน Online ด้วย Google Classroom
- การจัดทำกำหนดการสอน Online ด้วย Google Doc
- การติดตามและนิเทศการเรียนการสอน Online ด้วย Google Form และ Google Classroom
- ตารางสอน Online ด้วย Google Sheet
- การสอบ Pre-test, Post-Test Online กิจกรรมสอนปรับ
- พื้นฐานและงาน Open House ด้วยGoogle doc , Google Form
2. ด้านการบริหารวิชาการ
- การรับสมัครนักเรียนออนไลน์
- การกรอกแบบฟอร์มมอบตัวออนไลน์
- การลงทะเบียนเลือกวิชาเสรีเพิ่มเติมออนไลน์
- แบบตอบรับการเข้าร่วมประชุมผู้ปกครองออนไลน์
- การลงทะเบียนเลือกชุมนุมออนไลน์
3. ด้านการบริหารกิจการนักเรียน
- การตัดคะแนนพฤติกรรมนักเรียน
- การเช็คชื่อเข้าร่วมกิจกรรมหน้าเสาธงผ่านระบบ E-Student
- ระบบดูแลช่วยเหลือนักเรียน
- งานสภานักเรียน
- โรงเรียนสุจริต (Best Practice รูปแบบการส่งเสริมกิจกรรมยอดคนดีศรีนายโรง)
4. ด้านการบริหารงานบุคคล
- การลาออนไลน์
- การรายงานการไปราชการออนไลน์
- รายงานการประเมินตนเอง (SAR)
- การรายงานการมาปฏิบัติงาน (Time attendance Report)
- การประเมินครูผู้ช่วยโดย G-suite
- การตรวจสอบอัตรากำลังออนไลน์
5. ด้านการเงิน
- การชำระเงินผ่านระบบออนไลน์
6. ด้านการบริหารอาคารสถานที่
- แบบคัดกรองตนเองโรงเรียนมัธยมวัดนายโรงเพื่อเก็บรวบรวมข้อมูล เป็นมาตรการดูแลและป้องกันเชื้อไวรัส Covid-19
- การแจ้งซ่อม
- งานโสตทัศนศึกษาและ ICT
7. ด้านการบริหารทั่วไปและงานธุรการ
- งานประชาสัมพันธ์
- งานสารสนเทศโรงเรียน
- แบบประเมินความพึงพอใจโดยใช้ระบบออนไลน์
- E-Office
- หนังสือสั่งการ (คำสั่งโรงเรียน)
เข้าถึง (Access)
ในปัจจุบันโลกมีการเปลี่ยนแปลงอย่างรวดเร็ว จากยุค Analog ไปสู่ยุค Digital และยุค Robotic จึงทำให้เทคโนโลยีดิจิทัลมีอิทธิพลต่อการดำรงชีวิตและการทำงาน ตัวอย่างเว็บไซต์และการเข้าถึง (Access) เทคโนโลยีดิจิทัล ที่มีประสิทธิภาพของการจัดกิจกรรมการเรียนรู้ของโรงเรียนมัธยมวัดนายโรง ที่ตระหนักและพยายามให้นักเรียนได้เรียนรู้อย่างจริงจัง
- DLTV
- PhET
- IXL
- Khan Academy
- Kahoot
- Hour of code
4. Best Practice แนวปฏิบัติที่ดีที่สุด ต้นแบบที่ยอดเยี่ยม
เรื่องที่ 1 รางวัลนวัตกรรม PLC
การยกระดับคุณภาพการจัดการเรียนรู้ของสถานศึกษาแบบองค์รวม หรือ T-SIP: Thailand School Improvement Program
องค์การบริหารส่วนจังหวัดขอนแก่น จังหวัดขอนแก่น
การพัฒนาเครือข่ายโรงเรียนต้นแบบเพื่อยกระดับคุณภาพงานวิชาการ
ผ่านชุมชนแห่งการเรียนรู้ทางวิชาชีพ โรงเรียนในสังกัดองค์การบริหารส่วนจังหวัดขอนแก่น
ลักษณะเด่น
- ขับเคลื่อนจากความพร้อมและแรงจูงใจของฝ่ายบริหารเป็นลำดับแรกและเดินกลยุทธ์ไปที่ตัวแทนประเภทขนาดสถานศึกษาทั้งขนาดเล็ก ขนาดกลาง และขนาดใหญ่ ซึ่งเป็นขนาดตัวแทนของโรงเรียนในสังกัดอบจ.ขอนแก่น
- เปลี่ยนแปลงจากอุปสรรคในห้องเรียนสู่การปรับเปลี่ยนโยบายของโรงเรียน เพื่อมุ่งให้ครูทำงานร่วมกันได้โดยเรื่องเวลาไม่ใช่อุปสรรค
- เน้นเป้าหมาย 3 ด้านคือ ครูมืออาชีพ นักเรียนมีศักยภาพ โรงเรียนคุณภาพ ผ่านการออกแบบห้องเรียนร่วมกันที่ใช้แนวปฏิบัติที่ส่งผลต่อการจัดการเรียนรู้อย่างสูง
สำนักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษา เขต 33 จังหวัดสุรินทร์
การพัฒนาเครือข่ายโรงเรียนต้นแบบเพื่อยกระดับคุณภาพงานวิชาการ
โดยใช้กระบวนการชุมชนการเรียนรู้ทางวิชาชีพผ่านการพัฒนาบทเรียน
สำนักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษาเขต 33
ลักษณะเด่น
- ขับเคลื่อนจากภูมิศาสตร์พื้นที่และกำหนดโหนดเป้าหมายตามภูมิศาสตร์
- ใช้สมดุลของการพัฒนาคุณภาพห้องเรียนควบคู่กับการพัฒนาความก้าวหน้าทางวิชาชีพ ของครูแบบคู่ขนานภายในสังกัด
- ลบภาพลักษณ์ความทรงจำของครูต่อการนิเทศก์แบบเดิม สู่การให้ศึกษานิเทศก์เป็นเพื่อนคู่คิดในการพัฒนาชุมชนแห่งการเรียนรู้ทางวิชาชีพของสถานศึกษา โดยการจัดสรรตารางศึกษานิเทศก์ลงสนับสนุนอย่างเต็มกำลัง
โรงเรียนบ้านยางขาม สำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาพะเยา เขต 2
เครือข่ายการบริหารจัดการศึกษา เพื่อการพัฒนาผู้เรียนผ่านกระบวนการชุมชนแห่งการเรียนรู้ทางวิชาชีพ
ลักษณะเด่น
- ขับเคลื่อนเครือข่ายตามกระบวนการ PLC ทั้งระดับกลุ่มผู้บริหารจากกลุ่มโรงเรียนที่เข้าร่วมและระดับกลุ่มครูผู้สอนเพื่อให้เกิดโครงสร้างการทำงานที่สอดคล้องและเดินไปด้วยกัน
- การออกแบบแผนการจัดการเรียนรู้หน้าเดียวที่สามารถบอกถึงลำดับขั้นการจัดการเรียนรู้จริงในชั้นเรียน ทำให้เกิดความเข้าใจที่ตรงกันระหว่างครูผู้สอนและครูร่วมสังเกตการณ์สอน จนสามารถเก็บข้อมูลได้ตรงเป้าหมายการพัฒนาและสามารถให้ข้อมูลย้อนกลับหลังการสอนได้อย่างเป็นรูปธรรม
- การออกแบบการจัดการเรียนรู้ ด้านวิทยาการคำนวณที่แสดงออกถึงความสามารถของผู้เรียนเป็นหลักโดยเริ่มจากระดับความง่ายของเนื้อหาไปจนถึงความซับซ้อนของเนื้อหาที่เพิ่มขึ้นและนักเรียนสามารถติดตามครูได้อย่างชัดเจนโดยผู้เรียนได้ร่วมกันอภิปรายและทำงานอย่างทั่วถึง
โรงเรียนบ้านท่าข้าม สำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาเชียงใหม่ เขต 6
Task Based Learning เพื่อพัฒนาศักยภาพผู้เรียนสู่การเป็นนวัตกร
ลักษณะเด่น
- ใช้กระบวนการจัดการเรียนรู้แบบเน้นภาระงานเป็นฐาน (Task based Learning: TBL) เพื่อพัฒนาทักษะการคิดเชิงออกแบบของนักเรียนผ่านการปฏิบัติจริง อาทิเช่น กิจกรรมส้มตำ กิจกรรมแพนเค้ก กิจกรรมมอนสเตอร์ตัวใหม่ กิจกรรมบัวลอยสมการ เป็นต้น
- การทำงานร่วมกันระหว่างโรงเรียน มหาวิทยาลัย และชุมชน สามารถทำให้เกิดการแลกเปลี่ยนข้อมูลซึ่งกันและกันระหว่างโรงเรียนกับสังคมภายนอก จนทำให้ครูเกิดความคิดหลากหลายในการออกแบบสถานะการณ์จริงมาสู่การจัดการเรียนรู้ในชั้นเรียน
โรงเรียนเทพอุดมวิทยา สำนักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษา เขต 33 จังหวัดสุรินทร์
การยกระดับคุณภาพการศึกษาเพื่อพัฒนาผู้เรียนในศตวรรษที่ 21 อย่างยั่งยืน
ด้วยการจัดการเรียนรู้ที่ยึดหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงร่วมกับการสอนแบบโครงงานฐานวิจัยโดยใช้กระบวนการชุมชนแห่งการเรียนรู้ทางวิชาชีพผ่านระบบสารสนเทศและเทคโนโลยี
ลักษณะเด่น
นำร่องในทุกกลุ่มสาระวิชา โดยประยุกต์เอาแนวคิดด้านเศรษฐกิจพอเพียงและแนวปฏิบัติที่ส่งผลต่อการจัดการเรียนรู้อย่างสูงมาประกอบการออกแบบการจัดการเรียนรู้ภายในห้องเรียน
ผู้บริหารและคณะครูทำงานร่วมกันโดยใช้ IDPRS Model – (Inspiration, Determination, Practice, Result, Share) ผ่านชุมชนแห่งการเรียนรู้ทางวิชาชีพ
การส่งต่อการพัฒนาทักษะผู้เรียนด้วยแนวปฏิบัติที่นำมาใช้ร่วมกันระหว่างกลุ่มสาระ เป็นจุดเปลี่ยนของการเรียนรู้ร่วมกันของคณะครูต่อการพัฒนาแนวทางการสอนสำหรับระดับมัธยมศึกษา
โรงเรียนนิคมสร้างตนเองจังหวัดระยอง 10 สำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาระยอง เขต 1
การจัดการเรียนรู้แบบโครงงานบูรณาการกับหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง
เพื่อพัฒนาคุณภาพผู้เรียนด้านการคิดและนวัตกรรมและการทำงานเป็นทีม
ของนักเรียนโรงเรียนนิคมสร้างตนเองจังหวัดระยอง 10
ลักษณะเด่น
นำร่องใน 3 กลุ่มวิชาหลัก ได้แก่ ปฐมวัย ภาษา วิทย์-คณิต โดยใช้แนวคิดด้านเศรษฐกิจพอเพียงผ่านการเรียนรู้ด้วยโครงงานในช่วงลดเวลาเรียนเพิ่มเวลารู้
ผู้บริหารใช้วงจรของ PLC ให้ครูมาร่วมออกแบบการเรียนรู้ร่วมกัน ที่ดึงเอาแก่นของหลักเศรษฐกิจพอเพียง มาสู่การออกแบบกิจกรรมโครงงานและการประเมินได้อย่างสอดคล้อง
ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้นกับผู้เรียนจากโครงงานครั้งนี้ เป็นจุดเริ่มให้กลุ่มครูพัฒนาตนเองเพิ่มเติมเกี่ยวกับศาสตร์การจัดการเรียนรู้สำหรับประถมศึกษา
เครือข่ายโรงเรียนปางมะผ้าพิทยาสรรพ์ สังกัด สำนักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษาเขต 34
การพัฒนาคุณภาพการศึกษาที่ยั่งยืนด้วยการจัดการเรียนรู้ตามศาสตร์พระราชา
ผ่านกระบวนการชุมชนแห่งการเรียนรู้ทางวิชาชีพ (PLC) ของโรงเรียนจังหวัดแม่ฮ่องสอน
ลักษณะเด่น
ขับเคลื่อนเครือข่ายตามกระบวนการ PLC ระดับกลุ่มโรงเรียนโดยได้ศึกษาทฤษฎีเชิงระบบและได้ประยุกต์ใช้ทฤษฎีเชิงระบบการแก้ปัญหาแบบองค์รวมตามศาสตร์พระราชา
มีระบบบริหารจัดการทีมด้วยรูปแบบ TEAK MODEL และมีกระบวนการนิเทศ กำกับติดตามผ่าน KANYA MODEL เพื่อมุ่งเป้าหมายให้เกิดความสำเร็จต่อผู้เรียนแบบ STAR
ครูสมาชิกร่วมกันพัฒนาแผนการจัดการเรียนรู้ การวัดผลประเมินผล และการบันทึกหลังสอนเพื่อการพัฒนาผู้เรียน จนเกิดหลักฐานเชิงประจักษ์ที่สามารถสรุปข้อมูลผ่านงานวิจัยในชั้นเรียนได้
เน้นที่การออกแบบกิจกรรมการเรียนรู้จากสิ่งแวดล้อมรอบตัวนักเรียน อาทิเช่น การใช้ฉลากผลิตภัณฑ์ขวดน้ำดื่ม มาคำนวณหาส่วนประกอบต่าง ๆ ซึ่งจะทำให้ผู้เรียนเกิดความต้องการใฝ่เรียนรู้จริงและสามารถนำสิ่งที่ได้เรียนรู้ต่อยอดกับการใช้ชีวิตประจำวันได้
เรื่องที่ 2
การพัฒนาทักษะการให้เหตุผลอย่างไม่เป็นทางการ ของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 2
ผ่านการจัดการเรียนรู้โดยใช้ประเด็นทางสังคม ที่เกี่ยวเนื่องกับวิทยาศาสตร์เป็นฐาน
ผู้วิจัย : นายอัศวิน ธะนะปัด
โรงเรียนดำรงราษฎร์สงเคราะห์
จังหวัดเชียงราย
การพัฒนาผลการเรียนรู้วิชาชีววิทยา เรื่อง โครงสร้างและหน้าที่ของพืชดอก
ของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 5 โรงเรียนสุรวิทยาคาร จังหวัดสุรินทร์
โดยใช้ชุดกิจกรรมการเรียนรู้ ตามวัฏจักรการสืบเสาะหาความรู้ 5 ขั้น (5E)
ผู้วิจัย : นายพิรุณ ไพสนิท
โรงเรียนสุรวิทยาคาร
จังหวัดสุรินทร์
ผลการจัดการเรียนรู้โดยใช้ชุดการสอน แบบศูนย์การเรียนร่วมกับการเรียนแบบร่วมมือ
ที่มีต่อผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนและพฤติกรรมการทำงานกลุ่มวิชาคณิตศาสตร์พื้นฐานอาชีพ
ระดับประกาศนียบัตรวิชาชีพชั้นปีที่ 2 (ปวช.2) วิทยาลัยการอาชีพนวมินทราชูทิศ
ผู้วิจัย : ว่าที่ ร้อยตรีจิรายุทธิ์ อ่อนศรี
วิทยาลัยการอาชีพนวมินทราชูทิศ
กรุงเทพมหานคร
ผลการจัดการเรียนรู้วิชาสุขศึกษาโดยใช้ปัญหาเป็นฐานร่วมกับชุดการสอน
แบบศูนย์การเรียนที่มีต่อผลลัพธ์ การเรียนรู้ (Learning outcomes)
ของนักเรียน ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 6
ผู้วิจัย : นางสาวศิริพร ชอบสะอาด
โรงเรียนบ้านสวน (จั่นอนุสรณ์)
จังหวัดชลบุรี
ความสัมพันธ์เชิงเส้นของปัจจัยด้านบุคคลกับนวัตกรรมการจัดการเรียนรู้ของครู
ในโรงเรียนสังกัดสำนักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน
ผู้วิจัย : นายธีรพงษ์ แสงสิทธิ์
โรงเรียนห้วยชันวิทยา
จังหวัดขอนแก่น
เรื่องที่ 3
ศูนย์การศึกษาพิเศษประจำจังหวัดกาญจนบุรี
ชื่อนวัตกรรม : ภูมิปัญญาเบ็ดเสร็จ (Multiple Development Machine with Biofeedback)
โรงเรียนสาธิตสถาบันการจัดการปัญญาภิวัฒน์ จังหวัดนนทบุรี
ชื่อนวัตกรรม : SPIM LEARNING MODEL
โรงเรียนวัดแม่เตย จังหวัดสงขลา
ชื่อนวัตกรรม : ทำความดีด้วยหัวใจ บวรร่วมใจ เพื่อ MEATOEY
โรงเรียนจันทร์ประดิษฐารามวิทยาคม กรุงเทพมหานคร
วิชาการคู่คุณธรรม
โรงเรียนจันทร์ประดิษฐารามวิทยาคม กรุงเทพมหานคร
โรงเรียนศรีสองรักษ์วิทยา จังหวัดเลย
ชื่อนวัตกรรม : การจัดการศึกษาเพื่ออาชีพ "นักธุรกิจน้อยมีคุณธรรม นำสู่เศรษฐกิจสร้างสรรค์" โดยใช้รูปแบบ SRISONGRAK MODEL
โรงเรียนเนินกุ่มวิทยา จังหวัดพิษณุโลก
ชื่อนวัตกรรม : NOENKUM MODEL “ฟักข้าวผลิตภัณฑ์มหัศจรรย์”( Gac Health Care Products)
โรงเรียนบ้านปลาดาว จังหวัดเชียงใหม่
ชื่อนวัตกรรม : Makerspace แหล่งเรียนรู้พื้นที่สร้างสรรค์นักสร้างนวัตกรรมแห่งบ้านปลาดาว
โรงเรียนเทศบาลประตูลี้ จังหวัดลำพูน
ชื่อนวัตกรรม : การส่งเสริมทักษะภาษาอังกฤษด้วยกิจกรรม English Clinic: I can read เพื่อการเรียนรู้ตลอดชีวิต
โรงเรียนมอ.วิทยานุสรณ์ จังหวัดสงขลา
ชื่อนวัตกรรม : กิจกรรมเสริมทักษะ PSUWIT WORLD CLASS LEARNER เพื่อพัฒนาศักยภาพผู้เรียนสู่ศตวรรษที่ 21
โรงเรียนทุ่งหว้าวรวิทย์ จังหวัดสตูล
ชื่อนวัตกรรม : การพัฒนาหลักสูตรท้องถิ่นสาระการเรียนรู้เพิ่มเติม “อุทยานธรณีสตูล (Satun Geopark)
โรงเรียนหนองพอกวิทยาลัย จังหวัดร้อยเอ็ด
ชื่อนวัตกรรม : บ้านหลังเรียนนาฏมวยไทย ศูนย์การเรียนรู้เพื่อพัฒนาคุณภาพผู้เรียนที่ยั่งยืน
โรงเรียนหนองสูงสามัคคีวิทยา จังหวัดมุกดาหาร
ชื่อนวัตกรรม : การพัฒนาหลักสูตร ฝ้ายงามครามสวย โดยใช้ “BAIMON MODEL”
เรื่องที่ 4
รางวัลคุรุสภา 9 รางวัล
เรียนรู้และตอบคำถามปาฐกถา แลกเปลี่ยนเรียนรู้ และเสวนา "การปาฐกถาหม่อมหลวงปิ่น มาลากุล ครั้งที่ 4 เรื่อง “พลังครูไทยวิถีใหม่" รอบที่ 3
1.หัวข้อ Mind Set กระบวนทัศน์ใหม่วิธีคิดใหม่
เรื่องที่ 1 การจัดการเรียนรู้ด้วย STEM EDUCATION ด้านอาชีวศึกษา
คือ การจัดการเรียนรู้เชิงรุกด้วยการบูรณาการข้ามสาระวิชาหรือสมรรถนะข้ามสายงาน Transversal Competencies มาเป็นองค์ประกอบในการจัดการเรียนรู้แบบใช้ความคิดสร้างสรรค์เป็นฐาน CBL วิทยาลัยการอาชีพนวมินทราชูทิศ กรุงเทพมหานคร
STEM EDUCATION เป็นการจัดการเรียนรู้ที่มุ่งให้ผู้เรียนเกิดทักษะการทำงานร่วมกัน การคิดวิเคราะห์แก้ปัญหาตามสถานการณ์ด้วยสมรรถนะข้ามสายงานที่ตรงกับการศึกษาใน
แนวโน้มของโลกที่มีการเปลี่ยนแปลง พัฒนาขึ้นด้วยนวัตกรรมและความคิดสร้างสรรค์ ทำให้เกิดอาชีพใหม่ๆ อาชีพเดิมก็ต้องการทักษะของบุคลากรที่สูงขึ้น ในแง่ของศักยภาพด้านความรู้ความสามารถแทบจะครบทุกด้าน ไม่ได้เจาะจงแค่ความถนัดเฉพาะทางของสายอาชีพ แต่กลับเป็นความรู้ที่หลากหลาย คำว่า “ครบทุกด้าน” ก็ไม่ได้หมายความว่า ต้องมีความรู้เต็ม 100% ในทุกด้าน แต่เป็นการแบ่งทักษะความรู้ให้อยู่ในระดับที่เฉลี่ยในแต่ละด้าน พอเพียงที่จะเอาตัวรอดในศตวรรษที่ 21 ทักษะพื้นฐานที่สถาบันการศึกษากำหนดไว้ จึงจำเป็นที่จะต้องบูรณาการควบรวมศาสตร์สำคัญเข้าไว้ด้วยกัน นั่นคือ ศาสตร์สาขาวิชา วิทยาศาสตร์ (Science) เทคโนโลยี (Technology) วิศวกรรมศาสตร์ (Engineering) และคณิตศาสตร์ (Mathematics) ที่เมื่อก่อนนี้เป็นทักษะพื้นฐานที่ถูกแยกเป็นเอกเทศในหลักสูตร แล้วใครสนใจเรื่องไหนก็เจาะลึกลงไปที่ศาสตร์นั้นๆ ตามที่ถนัด แต่ในปัจจุบันนี้ การแข่งขันรอบด้านของในแง่แรงงานคุณภาพการศึกษา ศาสตร์ที่ว่ามาทั้ง 4 ต้องถูกนำมาควบรวมกันเป็นพื้นฐาน ผสานผ่านการนำเสนอในรูปแบบของการปฏิบัติ มากกว่าการท่องจำเนื้อหา หรือแค่นั่งฟังบรรยายทฤษฏีทางเดียว การปฏิบัติลงมือทำบทเรียนที่บรูณาการ ผสมผสานศาสตร์ทั้ง 4 นั้นเรียกว่า STEM (Science Technology Engineering and Mathematics)
ลักษณะของการเรียนการสอนแบบ STEM Education
ลักษณะการจัดการเรียนการสอน ตามรูปแบบของ STEM นั้น ประกอบไปด้วย
1. การเรียนการสอนแบบบรูณาการ (Integration) ผสานความรู้ศาสตร์สำคัญ ทั้ง 4 เข้าด้วยกัน ตามสัดส่วนความเข้มข้นของบทเรียน หรือบูรณาการร่วมกับศาสตร์อื่น ๆ เช่น สังคมศาสตร์ วิธีที่ง่ายที่สุดคือ การนำ Technology เข้าไปเป็นส่วนหนึ่งของการเรียนการสอนของศาสตร์อื่น ๆ
2. การเชื่อมโยงกิจกรรมการเรียนการสอน STEM ทั้ง 4 ศาสตร์ เข้ากับการประกอบอาชีพ เนื่องจากเมื่อผู้เรียนต้องสำเร็จการศึกษาไปแล้ว ทักษะหนึ่งที่เมื่อก่อนไม่ได้สอน นั่นคือ การแก้ปัญหาจากสิ่งแวดล้อม และสถานการณ์อื่นๆ ที่เป็นตัวแปร และสร้างความท้าทาย การเรียนการสอนแบบดั้งเดิมหรือ Traditional นั้น จบที่การเรียนการสอนเชิงลึกของแต่ละวิชา ไม่ได้สอนถึงปัญหาที่เกิดจากการทำงานจริง ๆ แล้วเฝ้าบอกผู้เรียนก่อนจบการศึกษาให้ไปเผชิญปัญหาดังกล่าวเอาดาบหน้า ซึ่งทำให้คุณภาพแรงงานต้องอยู่ในภาวะชงัก หรือฝืด เพราะแรงงานใหม่ที่เข้าตลาดงาน ต้องใช้เวลาในการเรียนรู้งานและสะสมประสบการณ์ จากการแก้ปัญหาที่มีเงื่อนไขหลากหลายจริงๆ ก็คือ ปีที่ 3 ของการทำงาน และจำนวนของผู้ชำนาญการสายตรงกลับเหลือเพียง 20-40% ต่อปีเท่านั้น กิจกรรมการเรียนการสอนแบบ STEM จึงควรเป็นการนำปัญหาที่เกิดขึ้นจากสถานการณ์จริง จากการทำงานมารวมกัน เช่น การยกตัวอย่างเชิงคณิตศาสตร์ให้ผู้เรียนสามารถวิเคราะห์คาดการณ์แนวโน้มเศรษฐกิจ เพื่อนำไปบูรณาการกับวิชาการจัดการ หรือ Logistics เป็นต้น ทางสถาบันอาจจะมีการเก็บองค์ความรู้ใหม่ๆ ในตัวของผู้สอน ไปจนถึงการนำผู้ประกอบการจริง มาร่วมในการออกแบบหลักสูตรการสอนให้อยู่ในรูปของความร่วมมือทางวิชาการ (MOU, a Memorandum Of Understanding) จากภาคการศึกษา และสถานประกอบการ โดยมีเป้าหมายคือ การพัฒนาศักยภาพแรงงานของประเทศไทยให้มีคุณภาพ และลดเวลาในการสะสมประสบการณ์ จากเดิมที่อยู่ในปีที่ 3 ให้เหลือเพียง 0-1 ปี
3. เน้นทักษะในศตวรรษที่ 21 หรืออาชีพใหม่ๆ ที่ปรากฏขึ้นในโลกใบนี้ ได้แก่ ความรู้เกี่ยวกับวิถีของโลก (Global Awareness) ความรู้เกี่ยวกับการเงิน เศรษฐศาสตร์ ธุรกิจ สำหรับความพร้อมในการเป็นผู้ประกอบการ (Financial, Economics, Business and Entrepreneurial Literacy) ความรู้ด้านการเป็นพลเมืองโลก (Civic Literacy) ความรู้ด้านสุขภาพ (Health Literacy) ความตระหนักรู้ด้านสิ่งแวดล้อม (Environmental Literacy) ทักษะดังกล่าวที่ว่ามาจะอยู่ในรูปแบบของเนื้อหาเชิงสหวิทยาการ (Interdisciplinary) ที่เน้นสอดแทรกเข้าไปในเนื้อหาของวิชาหลักที่จะช่วยผู้เรียนได้เตรียมความพร้อมสู่ตลาดแรงงาน ด้วยทักษะความรู้หลากหลาย
4. การสร้างปัญหาและความท้าทาย (Problem Based Learning) ในการออกแบบกิจกรรมการเรียนการสอนแบบ STEM นั้นต้องมีการระบุปัญหาจากกิจกรรม โดยปัญหานั้นประกอบไปด้วย ระดับความยากที่เพิ่มขึ้นนอกเหนือจากที่สอน แต่ไม่ออกนอกเนื้อหามากเกินไป ผู้สอนจำเป็นต้องออกแบบให้ดี เพื่อให้ผู้เรียนทำความเข้าใจกับปัญหาตรงหน้า หลังจากนั้น ต้องมีการกำหนดเงื่อนไขให้กับผู้เรียน เพื่อให้ผู้เรียนได้รวบรวมข้อมูลผ่านสารสนเทศด้วยเทคโนโลยี และแนวคิดทางวิทยาศาสตร์ คณิตศาสตร์ และในบางรายวิชา ก็จะมีการนำแนวคิดด้านวิศวกรรมศาสตร์มาช่วยเหลือ เพื่อให้ผู้เรียนแยกย่อยองค์ประกอบ จากแนวคิดที่เกี่ยวข้องกับแนวทางการแก้ปัญหา และประเมินความเป็นไปได้ที่ได้ค้นคว้ามา เพื่อระบุข้อดีและข้อจำกัดของแนวทางการแก้ปัญหาที่กำหนด กิจกรรม Take Home Project เป็นการกำหนดการบ้านให้ผู้เรียนได้เข้าไปศึกษาค้นคว้าที่บ้านเองตามระยะเวลาที่กำหนด หลังจากนั้น ผู้เรียนจะทำการออกแบบวิธีแก้ปัญหา และวางแผนดำเนินการแก้ปัญหา (Solution Design and Development) ช่วงสุดท้ายของกิจกรรมคือ การให้ผู้เรียนได้ทดลอง ทดสอบ ประเมินผล และปรับปรุงการแก้ปัญหานั้นๆ แล้วนำเสนอผลการแก้ปัญหา หรือวิธีการแก้ปัญหา ซึ่งขั้นตอนที่ว่ามาทั้งหมดนั้น ไม่ต้องจำกัดแนวความคิด ให้อิสระในการใช้วิธีและแนวทาง จำกัดเพียงเรื่องของเวลาเท่านั้น
5. พัฒนาครูผู้สอนและให้ผู้เรียนแสดงความเห็นต่อกิจกรรม เป็นการทำ Reflection สะท้อนความคิดหรือ Feed Back ของผู้เรียนที่มีต่อ STEM โดยแบ่งเป็น 2 ส่วนคือ ให้ผู้เรียนแสดงความเข้าใจต่อเนื้อหารายวิชาทั้ง 4 ที่นำมาบูรณาการ และอีกส่วนคือ การให้ผู้เรียนเสนอแนะ เพื่อนำไปเป็นข้อปรับปรุงการออกแบบการเรียนการสอนในรูปแบบกิจกรรมนี้ให้ดีขึ้น
B Belonging
การเปิดใจนักเรียนให้รู้สึกว่าตนเองเป็นส่วนหนึ่งของห้องเรียน
R Revolution
การปฏิวัติความเชื่อหรือความเข้าใจของนักเรียนที่มีต่อภาษาอังกฤษ
I Inspiration
การสร้างแรงบันดาลใจให้นักเรียนสนใจและกระตือรือร้นในการเรียนภาษาอังกฤษ
E Encouragement
การส่งเสริม สนับสนุน และให้กำลังใจนักเรียน เพื่อสร้างเสริมศักยภาพในการพัฒนาตนเอง
F Familiarity
เป็นส่วนช่วยเสริม แท้จริงแล้ว นักเรียนมีความคุ้นเคยกับภาษาอังกฤษอยู่ระดับหนึ่งแล้ว
เรื่องที่ 4 ผู้นำในตัวฉันที่สุจิปุลิ
ภาวะผู้นำในตัวฉัน หมายถึง การที่นักเรียนได้นำกรอบความคิดและหลักการของการเป็นผู้มีอุปนิสัยของผู้มีประสิทธิผล โดยใช้หลักการ 7 อุปนิสัยของผู้มีประสิทธิผล โดยมีแนวคิดตามรายละเอียดแต่ละอุปนิสัย ดังนี้
อุปนิสัยที่ 1 บีโปรแอ็กทีฟ (Be Proactive)
ฉันเป็นคนรับผิดชอบ ใช้ความคิดสร้างสรรค์ เลือกการกระทำ ทัศนคติและอารมณ์ ฉันไม่กล่าวโทษผู้อื่นเมื่อทำผิดพลาด ทำสิ่งที่ถูกต้องด้วยตัวเอง ถึงแม้ว่าจะไม่มีใครเห็นสิ่งที่ฉันทำก็ตาม
อุปนิสัยที่ 2 เริ่มต้นด้วยจุดมุ่งหมายในใจ (Begin with the end in mind)
ฉันวางแผนล่วงหน้าและกำหนดเป้าหมายชัดเจน ฉันทำสิ่งที่มีคุณค่าและสร้างความแตกต่าง ฉันเป็นส่วนหนึ่งที่สำคัญของห้องเรียนและมีส่วนสนับสนุนพันธกิจและวิสัยทัศน์ของโรงเรียน และตั้งมั่นที่จะเป็นพลเมืองคุณภาพของสังคม
อุปนิสัยที่ 3 ทำสิ่งที่สำคัญก่อน (Put first things first)
ฉันใช้เวลาทำสิ่งที่สำคัญสูงสุด และปฏิเสธสิ่งที่ไม่สำคัญ ฉันจัดลำดับความสำคัญของสิ่งที่ต้องทำ จัดตารางเวลา และทำตามแผนที่กำหนด ฉันเป็นคนมีระเบียบวินัย
อุปนิสัยที่ 4 คิดแบบชนะ-ชนะ (Think win win)
ฉันปรับสมดุลระหว่างความกล้าที่จะทำสิ่งที่ฉันต้องการให้ได้ กับความใส่ใจต่อผู้อื่นในสิ่งที่เขาต้องการ ฉันหาทางออกแบบชนะ – ชนะเสมอเมื่อเกิดความขัดแย้งขึ้น ฉันเลือกฝากบัญชีออมใจ (Emotional Bank Account)
อุปนิสัยที่ 5 เข้าใจผู้อื่นก่อน แล้วจึงให้ผู้อื่นเข้าใจเรา (Seek first to understand then to be understood)
ฉันรับฟังความคิดและความรู้สึกของผู้อื่น ฉันพยายามเข้าใจสิ่งต่าง ๆ ด้วยกรอบความคิดของเขา ฉันฟังโดยไม่ขัดจังหวะผู้พูด และฟังด้วยหู ตา รวมทั้งใจ ฉันกล้าพูดในสิ่งที่ฉันคิด
อุปนิสัยที่ 6 ผนึกพลังประสานความต่าง (Synergize)
ฉันเห็นความสำคัญของจุดแข็งของผู้อื่นและเรียนรู้จากเขา ฉันเข้ากับผู้อื่นได้ดีแม้กระทั่งคนที่แตกต่างจากฉัน ฉันทำงานกลุ่มได้ดีและมองหาความคิดใหม่ๆ จากผู้อื่น เพราะรู้ว่าการทำงานร่วมกันสร้างทางเลือกใหม่ที่ดีกว่าการที่ใครคนหนึ่งจะหาได้เพียงลำพัง ฉันมองหาทางเลือกที่สาม
อุปนิสัยที่ 7 ลับเลื่อยให้คมอยู่เสมอ (Sharpen the saw)
ฉันดูแลสุขภาพด้วยการกินอาหารที่มีประโยชน์ ออกกำลังกายสม่ำเสมอและพักผ่อนให้เพียงพอ (กายภาพ) ฉันเรียนรู้วิธีการใหม่ๆ จากที่อื่น ไม่ใช่จากที่โรงเรียนเท่านั้น (สติปัญญา) ฉันใช้เวลาทำกิจกรรมร่วมกับครอบครัวและเพื่อนฝูง (สังคมและอารมณ์) ฉันแบ่งเวลาให้กับการช่วยเหลือผู้อื่น (จิตวิญญาณ) ฉันสร้างสมดุลให้สี่มิติที่สำคัญของตัวฉัน
โดยทั้ง 7 อุปนิสัย จะถูกพัฒนาผ่านตัวนักเรียนแต่ละคน และเป็นแบบของการพัฒนาเพื่อความก้าวหน้า โดยที่ 3 อุปนิสัยแรก โปรแอ็กทีฟ เริ่มต้นด้วยจุดมุ่งหมายในใจ และทำสิ่งที่สำคัญก่อนเป็นหลักการที่ช่วยให้บุคคลพึ่งตนเองได้มากขึ้น ซึ่งเรียกว่าชัยชนะส่วนตน ซึ่งมีแก่นสำคัญ ได้แก่ ทักษะการบริหารเวลา ทักษะการวางแผน ทักษะการตั้งเป้าหมาย และทักษะพื้นฐานเรื่องการจัดการให้เป็นระบบระเบียบ
อุปนิสัยที่ 4 5 และ 6 ซึ่งได้แก่ คิดแบบชนะ-ชนะ เข้าใจผู้อื่นก่อนแล้วจึงให้ผู้อื่นเข้าใจเรา และผนึกพลังประสานความต่าง จำเป็นอย่างยิ่ง เพราะช่วยให้บุคคลพึ่งพาซึ่งกันและกันมากขึ้น เป็นแนวทางพัฒนาทักษะการแก้ปัญหาความขัดแย้ง ทักษะในการฟัง ทักษะเกี่ยวกับความคิดสร้างสรรค์ และทักษะการทำงานร่วมกันเป็นกลุ่ม
อุปนิสัยที่ 7 คือ ลับเลื่อยให้คมอยู่เสมอ เป็นการรวบรวมอุปนิสัยอื่นๆ เข้าด้วยกันตามหลักการเติมพลังชีวิต ทั้ง 4 มิติ คือ ด้านกายภาพ สังคมและอารมณ์ สติปัญญา และจิตวิญญาณ
เรื่องที่ 5 เน้นการส่งเสริมและพัฒนาครูด้านกระบวนการทางความคิดโดยเน้นให้ความสําคัญแก่ผู้เรียน
โดย กองทุนเพื่อความเสมอภาคทางการศึกษา
การส่งเสริมและพัฒนาครูโดยเน้นกระบวนการทางความคิดมุ่งเน้นผลลัพธ์ที่เกิดขึ้นกับผู้เรียนเป็นสําคัญ ในปี 2562 พบว่า “คุณภาพการศึกษาของประเทศไทยยังคงมีความเหลื่อมลํ้าด้านความรู้ ระหว่างผู้เรียนในเมืองกับผู้เรียนในชนบทที่ต่างกันถึง 2 ปีการศึกษา”
ลักษณะการจัดการเรียนการสอน ตามรูปแบบของ STEM นั้น ประกอบไปด้วย
1. การเรียนการสอนแบบบรูณาการ (Integration) ผสานความรู้ศาสตร์สำคัญ ทั้ง 4 เข้าด้วยกัน ตามสัดส่วนความเข้มข้นของบทเรียน หรือบูรณาการร่วมกับศาสตร์อื่น ๆ เช่น สังคมศาสตร์ วิธีที่ง่ายที่สุดคือ การนำ Technology เข้าไปเป็นส่วนหนึ่งของการเรียนการสอนของศาสตร์อื่น ๆ
2. การเชื่อมโยงกิจกรรมการเรียนการสอน STEM ทั้ง 4 ศาสตร์ เข้ากับการประกอบอาชีพ เนื่องจากเมื่อผู้เรียนต้องสำเร็จการศึกษาไปแล้ว ทักษะหนึ่งที่เมื่อก่อนไม่ได้สอน นั่นคือ การแก้ปัญหาจากสิ่งแวดล้อม และสถานการณ์อื่นๆ ที่เป็นตัวแปร และสร้างความท้าทาย การเรียนการสอนแบบดั้งเดิมหรือ Traditional นั้น จบที่การเรียนการสอนเชิงลึกของแต่ละวิชา ไม่ได้สอนถึงปัญหาที่เกิดจากการทำงานจริง ๆ แล้วเฝ้าบอกผู้เรียนก่อนจบการศึกษาให้ไปเผชิญปัญหาดังกล่าวเอาดาบหน้า ซึ่งทำให้คุณภาพแรงงานต้องอยู่ในภาวะชงัก หรือฝืด เพราะแรงงานใหม่ที่เข้าตลาดงาน ต้องใช้เวลาในการเรียนรู้งานและสะสมประสบการณ์ จากการแก้ปัญหาที่มีเงื่อนไขหลากหลายจริงๆ ก็คือ ปีที่ 3 ของการทำงาน และจำนวนของผู้ชำนาญการสายตรงกลับเหลือเพียง 20-40% ต่อปีเท่านั้น กิจกรรมการเรียนการสอนแบบ STEM จึงควรเป็นการนำปัญหาที่เกิดขึ้นจากสถานการณ์จริง จากการทำงานมารวมกัน เช่น การยกตัวอย่างเชิงคณิตศาสตร์ให้ผู้เรียนสามารถวิเคราะห์คาดการณ์แนวโน้มเศรษฐกิจ เพื่อนำไปบูรณาการกับวิชาการจัดการ หรือ Logistics เป็นต้น ทางสถาบันอาจจะมีการเก็บองค์ความรู้ใหม่ๆ ในตัวของผู้สอน ไปจนถึงการนำผู้ประกอบการจริง มาร่วมในการออกแบบหลักสูตรการสอนให้อยู่ในรูปของความร่วมมือทางวิชาการ (MOU, a Memorandum Of Understanding) จากภาคการศึกษา และสถานประกอบการ โดยมีเป้าหมายคือ การพัฒนาศักยภาพแรงงานของประเทศไทยให้มีคุณภาพ และลดเวลาในการสะสมประสบการณ์ จากเดิมที่อยู่ในปีที่ 3 ให้เหลือเพียง 0-1 ปี
3. เน้นทักษะในศตวรรษที่ 21 หรืออาชีพใหม่ๆ ที่ปรากฏขึ้นในโลกใบนี้ ได้แก่ ความรู้เกี่ยวกับวิถีของโลก (Global Awareness) ความรู้เกี่ยวกับการเงิน เศรษฐศาสตร์ ธุรกิจ สำหรับความพร้อมในการเป็นผู้ประกอบการ (Financial, Economics, Business and Entrepreneurial Literacy) ความรู้ด้านการเป็นพลเมืองโลก (Civic Literacy) ความรู้ด้านสุขภาพ (Health Literacy) ความตระหนักรู้ด้านสิ่งแวดล้อม (Environmental Literacy) ทักษะดังกล่าวที่ว่ามาจะอยู่ในรูปแบบของเนื้อหาเชิงสหวิทยาการ (Interdisciplinary) ที่เน้นสอดแทรกเข้าไปในเนื้อหาของวิชาหลักที่จะช่วยผู้เรียนได้เตรียมความพร้อมสู่ตลาดแรงงาน ด้วยทักษะความรู้หลากหลาย
4. การสร้างปัญหาและความท้าทาย (Problem Based Learning) ในการออกแบบกิจกรรมการเรียนการสอนแบบ STEM นั้นต้องมีการระบุปัญหาจากกิจกรรม โดยปัญหานั้นประกอบไปด้วย ระดับความยากที่เพิ่มขึ้นนอกเหนือจากที่สอน แต่ไม่ออกนอกเนื้อหามากเกินไป ผู้สอนจำเป็นต้องออกแบบให้ดี เพื่อให้ผู้เรียนทำความเข้าใจกับปัญหาตรงหน้า หลังจากนั้น ต้องมีการกำหนดเงื่อนไขให้กับผู้เรียน เพื่อให้ผู้เรียนได้รวบรวมข้อมูลผ่านสารสนเทศด้วยเทคโนโลยี และแนวคิดทางวิทยาศาสตร์ คณิตศาสตร์ และในบางรายวิชา ก็จะมีการนำแนวคิดด้านวิศวกรรมศาสตร์มาช่วยเหลือ เพื่อให้ผู้เรียนแยกย่อยองค์ประกอบ จากแนวคิดที่เกี่ยวข้องกับแนวทางการแก้ปัญหา และประเมินความเป็นไปได้ที่ได้ค้นคว้ามา เพื่อระบุข้อดีและข้อจำกัดของแนวทางการแก้ปัญหาที่กำหนด กิจกรรม Take Home Project เป็นการกำหนดการบ้านให้ผู้เรียนได้เข้าไปศึกษาค้นคว้าที่บ้านเองตามระยะเวลาที่กำหนด หลังจากนั้น ผู้เรียนจะทำการออกแบบวิธีแก้ปัญหา และวางแผนดำเนินการแก้ปัญหา (Solution Design and Development) ช่วงสุดท้ายของกิจกรรมคือ การให้ผู้เรียนได้ทดลอง ทดสอบ ประเมินผล และปรับปรุงการแก้ปัญหานั้นๆ แล้วนำเสนอผลการแก้ปัญหา หรือวิธีการแก้ปัญหา ซึ่งขั้นตอนที่ว่ามาทั้งหมดนั้น ไม่ต้องจำกัดแนวความคิด ให้อิสระในการใช้วิธีและแนวทาง จำกัดเพียงเรื่องของเวลาเท่านั้น
5. พัฒนาครูผู้สอนและให้ผู้เรียนแสดงความเห็นต่อกิจกรรม เป็นการทำ Reflection สะท้อนความคิดหรือ Feed Back ของผู้เรียนที่มีต่อ STEM โดยแบ่งเป็น 2 ส่วนคือ ให้ผู้เรียนแสดงความเข้าใจต่อเนื้อหารายวิชาทั้ง 4 ที่นำมาบูรณาการ และอีกส่วนคือ การให้ผู้เรียนเสนอแนะ เพื่อนำไปเป็นข้อปรับปรุงการออกแบบการเรียนการสอนในรูปแบบกิจกรรมนี้ให้ดีขึ้น
เรื่องที่ 2 ถอดบทเรียนการก้าวสู่ยุคดิจิทัลอย่างรีบเร่งจากวิกฤต COVID-19 โดย ฝ่ายมัธยมโรงเรียนเพลินพัฒนา
ปัจจัยสำคัญ 3 ด้านที่ช่วยรับมือกับ COVID-19 ในยุคดิจิทัล คือ
1. ด้านการสร้างทีมครูที่มีความคล่องตัว (Agile Team)
จากการเร่งรีบขับเคลื่อนด้วยเชื่อแบบเดิมๆว่าการสั่งการจากบนลงล่าง (Top Down) จะทำให้เราเดินทางได้เร็วขึ้น เป็นจากล่างชึ้นบน (Bottom Up) โดยทำงานแบบ ร่วมคิดร่วม ทำไปด้วยกัน
สิ่งที่เราได้เรียนรู้ คือ “การรับฟังกัน” (Listening Relationship) เป็น หัวใจของทีมที่ “ไว้วางใจกัน”(Trust)
2. ด้านกระบวนการพัฒนาครูด้านการจัดการเรียนรู้
แม้จะมีแผนการจัดการเรียนรู้ที่ดีอย่างไร ก็ต้องปรับให้รับกับสภาพห้องเรียนที่ไม่เคยเหมือนหรือซ้ำกันเลยในการสอนแต่ละครั้ง การพัฒนาครูด้วยการอบรมเพียงอย่างเดียวจึงไม่เพียงพอ ทีมครูจึงฝึกฝนและเรียนรู้จากสถานการณ์จริงไปด้วยกัน โดยการมีผู้เชี่ยวชาญมาช่วยสอนงาน (Coach) ทำให้ครูพัฒนาได้ถูกทางและเร็วขึ้น ด้วยกระบวนการศึกษาบทเรียนร่วมกัน (Lesson Study: LS) เพื่อทำให้ครูเข้าใจการเรียนรู้ ของนักเรียนและมีทักษะการแก้ไขปัญหา
สิ่งที่ได้เรียนรู้ คือ แนวทางการพัฒนาครูแบบ 70 : 20 : 10 ซึ่งหมายถึงสัดส่วนการเรียนรู้บนสถานการณ์จริง (on the job training: OJT) การสอนงาน แบบมีพี่เลี้ยง (Mentoring-Coaching) และ การอบรม (Training) ตามลำดับ
3. ด้านการไม่ทิ้งใครไว้ข้างหลัง
การศึกษาในปัจจุบันมุ่งพัฒนาอย่างเป็นองค์รวมเพราะการมุ่งพัฒนาด้านวิชาการไม่เพียงพอสำหรับการพานักเรียนสู่เป้าหมายในอนาคต การมองเห็นและแก้ปัญหาเฉพาะด้านวิชาการจึงไม่รองรับเป้าหมายการศึกษาที่จะ “ไม่ทิ้งใครไว้ข้างหลัง” เพราะนักเรียนแต่ละคนมีความต้องการที่แตกต่างกัน
สิ่งที่ได้เรียนรู้ คือ การช่วยเหลือนักเรียนให้หลุดจากปัญหา จำเป็นต้องร่วมกันวิเคราะห์สาเหตุที่แท้จริงของปัญหา (Root Cause Analysis: RCA) เพื่อการวางแผนการช่วยเหลือนักเรียน (Intervention)
ในการถอดบทเรียนครั้งนี้ ทำให้ตระหนักได้ว่าการเรียนรู้เหล่านี้เกิดขึ้น เพราะเรามีวัฒนธรรมองค์กรที่ส่งเสริมให้ทุกคนกล้าคิดกล้าทำ และยอมรับการเรียนรู้จากความผิดพลาด และฐานของการให้คุณค่าในความเป็นมนุษย์และเพราะเราไม่ได้ก้าวเดินไปตามลำพัง แต่เรามีเครือข่ายผู้เชี่ยวชาญที่เมตตามาเป็นโค้ชและเป็นที่ปรึกษา และมีผู้ปกครองที่พร้อมจะร่วมมือกับคุณครูและสนับสนุนโรงเรียน
เรื่องที่ 3 การเรียนรู้ที่เชื่อมโลกการสอนยุคเก่าสู่โลกการสอนยุคใหม่ KRUSO Chain for Education
การเรียนรู้ที่เชื่อมโลกการสอนยุคเก่าสู่โลกการสอนยุคใหม่ KRUSO Chain for Education ครูผู้สอนสามารถเก็บความรู้ที่มีให้สูญหายไปตามกาลเวลา หัวใจของการเรียนการสอนการที่ครุมุ่งหวังให้ผู้เรียนได้เกิดกระบวนการเรียนรู้ และเชื่อมต่อการสอนยุคเก่าไปยังการศึกษายุคใหม่อย่างมีความสุข ในอนาคตการเรียนจะไม่จบที่ห้องเรียน นักเรียนและครูแต่ละคนสามารถจะทำการเรียนการสอนจากที่ไหนก็ได้ นักเรียนแต่ละคนสามารถมีอิสระในการเลือกเวลาเรียนและสถานที่ในการเรียน application ที่สามารถตอบโจทย์ ทำให้เมื่อเกิดสถานการณ์ขึ้น ได้ปรับรูปแบบการเรียนไปเป็นระบบออนไลน์ได้ทันที และได้พัฒนารูปแบบการเรียนการสอนให้ดียิ่งขึ้น ทั้งนี้การเรียนการสอนในระบบออนไลน์หรือ NEW-NORMAL นั้นกลายเป็นส่วนหนึ่งในการเรียนรู้สำหรับผู้เรียนและครูไปแล้ว และหากจะจัดการเรียนการสอนออนไลน์หรือใช้เครื่องมือ Digital platform มาช่วยให้ให้มีประสิทธิภาพเทียบใกล้เคียงกับการเรียนการสอนแบบปกติและดียิ่งกว่านั้น สามารถอ่านได้เพิ่มเติม www.krusocenter.com/exhibition64.html
การพัฒนาครูในด้านการจัดการเรียนการสอนยุคใหม่ ที่ประกอบไปด้วย ทักษะทางความรู้และทักษะทางอารมณ์ ในณุปแบบเฉพาะต่างๆตามลักษณะห้องเรียนและผู้เรียนแต่ละแบบ ซึ่งเรียกว่า KRUSO MODEL เกิดจากองประกอบดังต่อไปนี้
K Knowledge
องค์ความรู้ของการจัดการเรียนการสอนของครู เน้นการคัดสรรค์ครูที่มีความรู้เฉพาะทางที่ตอบโจทย์สำหรับผู้เรียนในปัจจุบัน Teachers as an APP for Students ครูต้องเป็น APPสำหรับนักเรียน
R Relation
ผู้เรียนต้องรับรู้เสมือนครูอยู่ด้วยกัน ไม่ว่าจะเป็นห้องเรียนหรือออนไลน์ Proximity-like Feeling between Teachers and Students เมื่อสร้างรูปแบบการเรียนการสอนแบบนี้จะส่งผลในข้อที่ S
U Understanding
การเข้าใจในตัวผู้เรียน เข้าใจในบริบทของตัวผู้เรียน เข้าใจในการใช้ชีวิต การดำเนินชีวิตของผู้เรียน พื้นฐานการเรียนของนักเรียน เมื่อครูเข้าใจในตัวผู้เรียน ครูจะสอนจากด้านของนักเรียนไม่ใช่การสอนจากฝั่งครูด้านเดียว
S Savior
ห้องเรียนที่ดีคือห้องเรียนที่ไม่อึดอัด บรรยากาศในการเรียนนั้นจำเป็นอย่างมากในการจัดการเรียนการสอน การวางตัวของครุต้องผ่อนคลายแต่ไม่ปวกเปียก เข้มงวดแต่ไม่แข็งกร้าว เมื่อทำเช่นนี้แล้ว ห้องเรียนนั้นจะเป็นห้องเรียนที่ผู้เรียนและครูสามารถจัดกิจกรรมการเรียนการสอนไปด้วยกันได้อย่างราบรื่นO Opportunity
ห้องเรียนที่ดีคือห้องเรียนที่เปิดโอกาสให้ผู้เรียนได้เรียนรู้ได้ตอบคถามและข้อสงสัยได้ ครุผู้สอนต้องมีความรู้ที่สามารถตอบผู้เรียนได้ทันที นั้นจะสอดคล้องกับหัวข้อ K
BRIEF คือ เทคนิคการจัดการเรียนการสอนซึ่งได้รับการดำเนินการตามแนวทาง New Pedagogy โดยมุ่งเน้นในด้านการจัดการเรียนการสอนยุคใหม่ และผสานทักษะทางความรู้เข้ากับทักษะทางอารมณ์ เมื่อกล่าวถึงการเรียนการสอนในวิชาภาษาอังกฤษ ปัญหาที่ครูผู้สอนมักจะพบก็คือ นักเรียนจำนวนมากคิดว่าภาษาอังกฤษเป็นภาษาต่างประเทศที่ซับซ้อน ทั้งในด้านการพูด การฟัง การอ่าน และการเขียน อีกทั้งยังยากต่อการทำความเข้าใจและนำมาใช้สื่อสารจริงในชีวิตประจำวัน นอกจากนี้ นักเรียนอีกจำนวนหนึ่งมองว่า ภาษาอังกฤษเป็นภาษาต่างประเทศที่น่าเบื่อและไม่ได้มีบทบาทมากนักในสังคมไทย เมื่อโตขึ้น นักเรียนอาจไม่จำเป็นต้องใช้ภาษาอังกฤษในการสื่อสาร การเรียนต่อ หรือการทำงาน หากไม่สนใจเรียนหรือไม่ใช้ภาษาอังกฤษให้ถูกต้องตามหลักไวยากรณ์ก็คงไม่ได้รับผลกระทบแต่อย่างใด ความเข้าใจเชิงลบเหล่านี้จะเปลี่ยนไปด้วยการประยุกต์ใช้เทคนิคการเรียนการสอน BRIEF ซึ่งเป็นเทคนิคที่สั้น กระชับ ประยุกต์ใช้ได้ง่าย และมีประสิทธิภาพทั้งในห้องเรียนปกติและห้องเรียนออนไลน์ เทคนิคนี้ประกอบด้วยขั้นตอนย่อย 5 ขั้นตอน ได้แก่
ปัจจัยสำคัญ 3 ด้านที่ช่วยรับมือกับ COVID-19 ในยุคดิจิทัล คือ
1. ด้านการสร้างทีมครูที่มีความคล่องตัว (Agile Team)
จากการเร่งรีบขับเคลื่อนด้วยเชื่อแบบเดิมๆว่าการสั่งการจากบนลงล่าง (Top Down) จะทำให้เราเดินทางได้เร็วขึ้น เป็นจากล่างชึ้นบน (Bottom Up) โดยทำงานแบบ ร่วมคิดร่วม ทำไปด้วยกัน
สิ่งที่เราได้เรียนรู้ คือ “การรับฟังกัน” (Listening Relationship) เป็น หัวใจของทีมที่ “ไว้วางใจกัน”(Trust)
2. ด้านกระบวนการพัฒนาครูด้านการจัดการเรียนรู้
แม้จะมีแผนการจัดการเรียนรู้ที่ดีอย่างไร ก็ต้องปรับให้รับกับสภาพห้องเรียนที่ไม่เคยเหมือนหรือซ้ำกันเลยในการสอนแต่ละครั้ง การพัฒนาครูด้วยการอบรมเพียงอย่างเดียวจึงไม่เพียงพอ ทีมครูจึงฝึกฝนและเรียนรู้จากสถานการณ์จริงไปด้วยกัน โดยการมีผู้เชี่ยวชาญมาช่วยสอนงาน (Coach) ทำให้ครูพัฒนาได้ถูกทางและเร็วขึ้น ด้วยกระบวนการศึกษาบทเรียนร่วมกัน (Lesson Study: LS) เพื่อทำให้ครูเข้าใจการเรียนรู้ ของนักเรียนและมีทักษะการแก้ไขปัญหา
สิ่งที่ได้เรียนรู้ คือ แนวทางการพัฒนาครูแบบ 70 : 20 : 10 ซึ่งหมายถึงสัดส่วนการเรียนรู้บนสถานการณ์จริง (on the job training: OJT) การสอนงาน แบบมีพี่เลี้ยง (Mentoring-Coaching) และ การอบรม (Training) ตามลำดับ
3. ด้านการไม่ทิ้งใครไว้ข้างหลัง
การศึกษาในปัจจุบันมุ่งพัฒนาอย่างเป็นองค์รวมเพราะการมุ่งพัฒนาด้านวิชาการไม่เพียงพอสำหรับการพานักเรียนสู่เป้าหมายในอนาคต การมองเห็นและแก้ปัญหาเฉพาะด้านวิชาการจึงไม่รองรับเป้าหมายการศึกษาที่จะ “ไม่ทิ้งใครไว้ข้างหลัง” เพราะนักเรียนแต่ละคนมีความต้องการที่แตกต่างกัน
สิ่งที่ได้เรียนรู้ คือ การช่วยเหลือนักเรียนให้หลุดจากปัญหา จำเป็นต้องร่วมกันวิเคราะห์สาเหตุที่แท้จริงของปัญหา (Root Cause Analysis: RCA) เพื่อการวางแผนการช่วยเหลือนักเรียน (Intervention)
ในการถอดบทเรียนครั้งนี้ ทำให้ตระหนักได้ว่าการเรียนรู้เหล่านี้เกิดขึ้น เพราะเรามีวัฒนธรรมองค์กรที่ส่งเสริมให้ทุกคนกล้าคิดกล้าทำ และยอมรับการเรียนรู้จากความผิดพลาด และฐานของการให้คุณค่าในความเป็นมนุษย์และเพราะเราไม่ได้ก้าวเดินไปตามลำพัง แต่เรามีเครือข่ายผู้เชี่ยวชาญที่เมตตามาเป็นโค้ชและเป็นที่ปรึกษา และมีผู้ปกครองที่พร้อมจะร่วมมือกับคุณครูและสนับสนุนโรงเรียน
เรื่องที่ 3 การเรียนรู้ที่เชื่อมโลกการสอนยุคเก่าสู่โลกการสอนยุคใหม่ KRUSO Chain for Education
การเรียนรู้ที่เชื่อมโลกการสอนยุคเก่าสู่โลกการสอนยุคใหม่ KRUSO Chain for Education ครูผู้สอนสามารถเก็บความรู้ที่มีให้สูญหายไปตามกาลเวลา หัวใจของการเรียนการสอนการที่ครุมุ่งหวังให้ผู้เรียนได้เกิดกระบวนการเรียนรู้ และเชื่อมต่อการสอนยุคเก่าไปยังการศึกษายุคใหม่อย่างมีความสุข ในอนาคตการเรียนจะไม่จบที่ห้องเรียน นักเรียนและครูแต่ละคนสามารถจะทำการเรียนการสอนจากที่ไหนก็ได้ นักเรียนแต่ละคนสามารถมีอิสระในการเลือกเวลาเรียนและสถานที่ในการเรียน application ที่สามารถตอบโจทย์ ทำให้เมื่อเกิดสถานการณ์ขึ้น ได้ปรับรูปแบบการเรียนไปเป็นระบบออนไลน์ได้ทันที และได้พัฒนารูปแบบการเรียนการสอนให้ดียิ่งขึ้น ทั้งนี้การเรียนการสอนในระบบออนไลน์หรือ NEW-NORMAL นั้นกลายเป็นส่วนหนึ่งในการเรียนรู้สำหรับผู้เรียนและครูไปแล้ว และหากจะจัดการเรียนการสอนออนไลน์หรือใช้เครื่องมือ Digital platform มาช่วยให้ให้มีประสิทธิภาพเทียบใกล้เคียงกับการเรียนการสอนแบบปกติและดียิ่งกว่านั้น สามารถอ่านได้เพิ่มเติม www.krusocenter.com/exhibition64.html
การพัฒนาครูในด้านการจัดการเรียนการสอนยุคใหม่ ที่ประกอบไปด้วย ทักษะทางความรู้และทักษะทางอารมณ์ ในณุปแบบเฉพาะต่างๆตามลักษณะห้องเรียนและผู้เรียนแต่ละแบบ ซึ่งเรียกว่า KRUSO MODEL เกิดจากองประกอบดังต่อไปนี้
K Knowledge
องค์ความรู้ของการจัดการเรียนการสอนของครู เน้นการคัดสรรค์ครูที่มีความรู้เฉพาะทางที่ตอบโจทย์สำหรับผู้เรียนในปัจจุบัน Teachers as an APP for Students ครูต้องเป็น APPสำหรับนักเรียน
R Relation
ผู้เรียนต้องรับรู้เสมือนครูอยู่ด้วยกัน ไม่ว่าจะเป็นห้องเรียนหรือออนไลน์ Proximity-like Feeling between Teachers and Students เมื่อสร้างรูปแบบการเรียนการสอนแบบนี้จะส่งผลในข้อที่ S
U Understanding
การเข้าใจในตัวผู้เรียน เข้าใจในบริบทของตัวผู้เรียน เข้าใจในการใช้ชีวิต การดำเนินชีวิตของผู้เรียน พื้นฐานการเรียนของนักเรียน เมื่อครูเข้าใจในตัวผู้เรียน ครูจะสอนจากด้านของนักเรียนไม่ใช่การสอนจากฝั่งครูด้านเดียว
S Savior
ห้องเรียนที่ดีคือห้องเรียนที่ไม่อึดอัด บรรยากาศในการเรียนนั้นจำเป็นอย่างมากในการจัดการเรียนการสอน การวางตัวของครุต้องผ่อนคลายแต่ไม่ปวกเปียก เข้มงวดแต่ไม่แข็งกร้าว เมื่อทำเช่นนี้แล้ว ห้องเรียนนั้นจะเป็นห้องเรียนที่ผู้เรียนและครูสามารถจัดกิจกรรมการเรียนการสอนไปด้วยกันได้อย่างราบรื่นO Opportunity
ห้องเรียนที่ดีคือห้องเรียนที่เปิดโอกาสให้ผู้เรียนได้เรียนรู้ได้ตอบคถามและข้อสงสัยได้ ครุผู้สอนต้องมีความรู้ที่สามารถตอบผู้เรียนได้ทันที นั้นจะสอดคล้องกับหัวข้อ K
BRIEF คือ เทคนิคการจัดการเรียนการสอนซึ่งได้รับการดำเนินการตามแนวทาง New Pedagogy โดยมุ่งเน้นในด้านการจัดการเรียนการสอนยุคใหม่ และผสานทักษะทางความรู้เข้ากับทักษะทางอารมณ์ เมื่อกล่าวถึงการเรียนการสอนในวิชาภาษาอังกฤษ ปัญหาที่ครูผู้สอนมักจะพบก็คือ นักเรียนจำนวนมากคิดว่าภาษาอังกฤษเป็นภาษาต่างประเทศที่ซับซ้อน ทั้งในด้านการพูด การฟัง การอ่าน และการเขียน อีกทั้งยังยากต่อการทำความเข้าใจและนำมาใช้สื่อสารจริงในชีวิตประจำวัน นอกจากนี้ นักเรียนอีกจำนวนหนึ่งมองว่า ภาษาอังกฤษเป็นภาษาต่างประเทศที่น่าเบื่อและไม่ได้มีบทบาทมากนักในสังคมไทย เมื่อโตขึ้น นักเรียนอาจไม่จำเป็นต้องใช้ภาษาอังกฤษในการสื่อสาร การเรียนต่อ หรือการทำงาน หากไม่สนใจเรียนหรือไม่ใช้ภาษาอังกฤษให้ถูกต้องตามหลักไวยากรณ์ก็คงไม่ได้รับผลกระทบแต่อย่างใด ความเข้าใจเชิงลบเหล่านี้จะเปลี่ยนไปด้วยการประยุกต์ใช้เทคนิคการเรียนการสอน BRIEF ซึ่งเป็นเทคนิคที่สั้น กระชับ ประยุกต์ใช้ได้ง่าย และมีประสิทธิภาพทั้งในห้องเรียนปกติและห้องเรียนออนไลน์ เทคนิคนี้ประกอบด้วยขั้นตอนย่อย 5 ขั้นตอน ได้แก่
B Belonging
การเปิดใจนักเรียนให้รู้สึกว่าตนเองเป็นส่วนหนึ่งของห้องเรียน
R Revolution
การปฏิวัติความเชื่อหรือความเข้าใจของนักเรียนที่มีต่อภาษาอังกฤษ
I Inspiration
การสร้างแรงบันดาลใจให้นักเรียนสนใจและกระตือรือร้นในการเรียนภาษาอังกฤษ
E Encouragement
การส่งเสริม สนับสนุน และให้กำลังใจนักเรียน เพื่อสร้างเสริมศักยภาพในการพัฒนาตนเอง
F Familiarity
เป็นส่วนช่วยเสริม แท้จริงแล้ว นักเรียนมีความคุ้นเคยกับภาษาอังกฤษอยู่ระดับหนึ่งแล้ว
เรื่องที่ 4 ผู้นำในตัวฉันที่สุจิปุลิ
ภาวะผู้นำในตัวฉัน หมายถึง การที่นักเรียนได้นำกรอบความคิดและหลักการของการเป็นผู้มีอุปนิสัยของผู้มีประสิทธิผล โดยใช้หลักการ 7 อุปนิสัยของผู้มีประสิทธิผล โดยมีแนวคิดตามรายละเอียดแต่ละอุปนิสัย ดังนี้
อุปนิสัยที่ 1 บีโปรแอ็กทีฟ (Be Proactive)
ฉันเป็นคนรับผิดชอบ ใช้ความคิดสร้างสรรค์ เลือกการกระทำ ทัศนคติและอารมณ์ ฉันไม่กล่าวโทษผู้อื่นเมื่อทำผิดพลาด ทำสิ่งที่ถูกต้องด้วยตัวเอง ถึงแม้ว่าจะไม่มีใครเห็นสิ่งที่ฉันทำก็ตาม
อุปนิสัยที่ 2 เริ่มต้นด้วยจุดมุ่งหมายในใจ (Begin with the end in mind)
ฉันวางแผนล่วงหน้าและกำหนดเป้าหมายชัดเจน ฉันทำสิ่งที่มีคุณค่าและสร้างความแตกต่าง ฉันเป็นส่วนหนึ่งที่สำคัญของห้องเรียนและมีส่วนสนับสนุนพันธกิจและวิสัยทัศน์ของโรงเรียน และตั้งมั่นที่จะเป็นพลเมืองคุณภาพของสังคม
อุปนิสัยที่ 3 ทำสิ่งที่สำคัญก่อน (Put first things first)
ฉันใช้เวลาทำสิ่งที่สำคัญสูงสุด และปฏิเสธสิ่งที่ไม่สำคัญ ฉันจัดลำดับความสำคัญของสิ่งที่ต้องทำ จัดตารางเวลา และทำตามแผนที่กำหนด ฉันเป็นคนมีระเบียบวินัย
อุปนิสัยที่ 4 คิดแบบชนะ-ชนะ (Think win win)
ฉันปรับสมดุลระหว่างความกล้าที่จะทำสิ่งที่ฉันต้องการให้ได้ กับความใส่ใจต่อผู้อื่นในสิ่งที่เขาต้องการ ฉันหาทางออกแบบชนะ – ชนะเสมอเมื่อเกิดความขัดแย้งขึ้น ฉันเลือกฝากบัญชีออมใจ (Emotional Bank Account)
อุปนิสัยที่ 5 เข้าใจผู้อื่นก่อน แล้วจึงให้ผู้อื่นเข้าใจเรา (Seek first to understand then to be understood)
ฉันรับฟังความคิดและความรู้สึกของผู้อื่น ฉันพยายามเข้าใจสิ่งต่าง ๆ ด้วยกรอบความคิดของเขา ฉันฟังโดยไม่ขัดจังหวะผู้พูด และฟังด้วยหู ตา รวมทั้งใจ ฉันกล้าพูดในสิ่งที่ฉันคิด
อุปนิสัยที่ 6 ผนึกพลังประสานความต่าง (Synergize)
ฉันเห็นความสำคัญของจุดแข็งของผู้อื่นและเรียนรู้จากเขา ฉันเข้ากับผู้อื่นได้ดีแม้กระทั่งคนที่แตกต่างจากฉัน ฉันทำงานกลุ่มได้ดีและมองหาความคิดใหม่ๆ จากผู้อื่น เพราะรู้ว่าการทำงานร่วมกันสร้างทางเลือกใหม่ที่ดีกว่าการที่ใครคนหนึ่งจะหาได้เพียงลำพัง ฉันมองหาทางเลือกที่สาม
อุปนิสัยที่ 7 ลับเลื่อยให้คมอยู่เสมอ (Sharpen the saw)
ฉันดูแลสุขภาพด้วยการกินอาหารที่มีประโยชน์ ออกกำลังกายสม่ำเสมอและพักผ่อนให้เพียงพอ (กายภาพ) ฉันเรียนรู้วิธีการใหม่ๆ จากที่อื่น ไม่ใช่จากที่โรงเรียนเท่านั้น (สติปัญญา) ฉันใช้เวลาทำกิจกรรมร่วมกับครอบครัวและเพื่อนฝูง (สังคมและอารมณ์) ฉันแบ่งเวลาให้กับการช่วยเหลือผู้อื่น (จิตวิญญาณ) ฉันสร้างสมดุลให้สี่มิติที่สำคัญของตัวฉัน
โดยทั้ง 7 อุปนิสัย จะถูกพัฒนาผ่านตัวนักเรียนแต่ละคน และเป็นแบบของการพัฒนาเพื่อความก้าวหน้า โดยที่ 3 อุปนิสัยแรก โปรแอ็กทีฟ เริ่มต้นด้วยจุดมุ่งหมายในใจ และทำสิ่งที่สำคัญก่อนเป็นหลักการที่ช่วยให้บุคคลพึ่งตนเองได้มากขึ้น ซึ่งเรียกว่าชัยชนะส่วนตน ซึ่งมีแก่นสำคัญ ได้แก่ ทักษะการบริหารเวลา ทักษะการวางแผน ทักษะการตั้งเป้าหมาย และทักษะพื้นฐานเรื่องการจัดการให้เป็นระบบระเบียบ
อุปนิสัยที่ 4 5 และ 6 ซึ่งได้แก่ คิดแบบชนะ-ชนะ เข้าใจผู้อื่นก่อนแล้วจึงให้ผู้อื่นเข้าใจเรา และผนึกพลังประสานความต่าง จำเป็นอย่างยิ่ง เพราะช่วยให้บุคคลพึ่งพาซึ่งกันและกันมากขึ้น เป็นแนวทางพัฒนาทักษะการแก้ปัญหาความขัดแย้ง ทักษะในการฟัง ทักษะเกี่ยวกับความคิดสร้างสรรค์ และทักษะการทำงานร่วมกันเป็นกลุ่ม
อุปนิสัยที่ 7 คือ ลับเลื่อยให้คมอยู่เสมอ เป็นการรวบรวมอุปนิสัยอื่นๆ เข้าด้วยกันตามหลักการเติมพลังชีวิต ทั้ง 4 มิติ คือ ด้านกายภาพ สังคมและอารมณ์ สติปัญญา และจิตวิญญาณ
เรื่องที่ 5 เน้นการส่งเสริมและพัฒนาครูด้านกระบวนการทางความคิดโดยเน้นให้ความสําคัญแก่ผู้เรียน
โดย กองทุนเพื่อความเสมอภาคทางการศึกษา
การส่งเสริมและพัฒนาครูโดยเน้นกระบวนการทางความคิดมุ่งเน้นผลลัพธ์ที่เกิดขึ้นกับผู้เรียนเป็นสําคัญ ในปี 2562 พบว่า “คุณภาพการศึกษาของประเทศไทยยังคงมีความเหลื่อมลํ้าด้านความรู้ ระหว่างผู้เรียนในเมืองกับผู้เรียนในชนบทที่ต่างกันถึง 2 ปีการศึกษา”
2. New Pedagogy ศาสตร์การสอน การเรียนรู้ใหม่ องค์ความรู้ใหม่
เรื่องที่ 1 "50 ไอเดียการสอนต้นแบบที่สร้างสรรค์"
การพัฒนาดิจิทัลแพลตฟอร์มเพื่อส่งเสริม DOE จึงถือว่าเป็นอีกหนึ่งช่องทางที่จะสามารถส่งเสริมความเข้าใจแนวทางการจัดการเรียนการสอนตาม โดยดิจิทัลแพลตฟอร์มดังกล่าวเป็นต้นแบบสาธิตให้ครูได้เห็นตัวอย่างการจัดการเรียนการสอนที่ส่งเสริมให้เกิด DOE ช่วยให้ครูผ้สอนเกิดแรงบันดาลใจ เข้าใจ และเข้าถึงแนวคิดดังกล่าว นอกจากนี้ ยังเป็นช่องทางการติดตามการจัดการเรียนการสอนเพื่อให้เกิดผลลัพธ์ที่พึงประสงค์ของคนไทย 4.0 อีกรูปแบบหนึ่ง ซึ่งจะได้ผลตอบรับโดยตรงจากผู้เรียนแบบ real time จากระบบออนไลน์
ในโอกาสนี้ คุณครูหรือผู้สอนท่านใดสนใจรับชมไอเดียการสอนหรือต้องการร่วมแชร์ไอเดียการสอนของตนเองสามารถเข้าไปดูรายละเอียดเพิ่มเติมได้ที่ https://inskru.com/nomination?fbclid=IwAR1QYhRxeOFr6RvUhB26xGcq03haS8Uhwzux1p1H0k8vtM2EHpQevGDoxJY
เว็บลิงค์นี้จัดทำขึ้น เพื่อเชื่อมโยงสื่อดิจิทัลเกี่ยวกับนวัตกรรมการจัดการเรียนรู้ เพื่อส่งเสริมการนำมาตรฐานการศึกษาของชาติสู่การปฏิบัติ ในการพัฒนาผลลัพธ์ที่พึงประสงค์ของการศึกษา (DOE) อีกทั้งเพื่อให้ครู ผู้บริหารการศึกษา ศึกษานิเทศก์ พ่อแม่ผู้ปกครอง และหน่วยงานที่เกี่ยวข้องกับการศึกษา ใช้เป็นแนวทาง ในการพัฒนากิจกรรมการเรียนการสอน ส่งเสริมให้คนไทยเกิดผลลัพธ์ที่พึงประสงค์ ตามที่กำหนดไว้ในมาตรฐานการศึกษาของชาติ พ.ศ. 2561 คือ
1. เป็นผู้เรียนรู้ เพื่อสร้างงานและคุณภาพชีวิตที่ดี
2. ผู้ร่วมสร้างสรรค์นวัตกรรม เพื่อสังคมที่มั่นคง มั่งคั่ง และยั่งยืน
3. พลเมืองที่เข้มแข็ง เพื่อสันติสุข
1. เป็นผู้เรียนรู้ เพื่อสร้างงานและคุณภาพชีวิตที่ดี
2. ผู้ร่วมสร้างสรรค์นวัตกรรม เพื่อสังคมที่มั่นคง มั่งคั่ง และยั่งยืน
3. พลเมืองที่เข้มแข็ง เพื่อสันติสุข
โดยเว็บลิงค์นี้ได้จำแนกสื่อที่รวบรวมตามระดับการศึกษา ได้แก่ ปฐมวัย ประถมศึกษา มัธยมศึกษาตอนต้น มัธยมศึกษาตอนปลาย/อาชีวศึกษา และอุดมศึกษา ท่านที่สนใจสามารถดูรายละเอียดเพิ่มเติมได้ที่ http://www.onec.go.th/index.php/page/view/Outstand/4228
เรื่องที่ 3 แสงประทีปส่องทาง แสงสว่างแห่งพิบูลประชาสรรค์
ปัจจุบันโลกมีความเจริญก้าวหน้าอย่างก้าวกระโดด สืบเนื่องจากการเปลี่ยนแปลงทางสังคม แห่งยุคศตวรรษที่ 21 ส่งผลให้การศึกษาต้องเผชิญกับการเปลี่ยนแปลงที่เกิดขึ้นอย่างรวดเร็ว พลิกผัน และคาดไม่ถึง เยาวชนยุคใหม่จึงต้องมีทักษะที่จำเป็นอย่างยิ่งในการเรียนรู้และปรับตัว ครูผู้สอนจึงมีบทบาทสำคัญในการขับเคลื่อนการจัดการเรียนรู้ให้สอดคล้องกับความแตกต่างของผู้เรียนและสภาวการณ์ทางสังคม
ทั้งนี้ ครูผู้สอน จึงต้องช่วยเตรียมความพร้อมของเยาวชนให้เป็นผู้รู้จักคิด เรียนรู้ ทำงาน แก้ปัญหา สามารถสื่อสาร และอยู่ร่วมกับผู้อื่นได้ ตลอดจนการปลูกฝังทักษะที่จำเป็นในการเรียนรู้และปรับตัว ผ่านกลวิธีการสอน การสร้างเสริมทักษะการคิดวิเคราะห์ สังเคราะห์ และการคิดอย่างสร้างสรรค์ การผลิตสื่อประกอบการเรียนการสอน และการเลือกใช้สารสนเทศและเทคโนโลยี นอกจากนี้ครูผู้สอนต้องเปี่ยมไปด้วยคุณธรรม จริยธรรม ตลอดจนเป็นบุคคลแห่งการเรียนรู้และเป็นผู้นำทางวิชาการ
จากที่กล่าวมาย่อมเห็นว่า ครูผู้สอนเป็นส่วนสำคัญอย่างยิ่งในระบบการศึกษา และเป็นปัจจัยสำคัญ ที่จะทำให้การเรียนการสอนมีประสิทธิภาพ อันจะส่งผลให้ผู้เรียนบรรลุตามวัตถุประสงค์ของการสอนที่ตั้งไว้อย่างครบถ้วนสมบูรณ์ นักศึกษาชั้นปีที่ 4 สาขาวิชาภาษาไทย คณะครุศาสตร์ มหาวิทยาลัยราชภัฏ สวนสุนันทา จึงศึกษาและเก็บข้อมูลภายใต้หัวข้อ “แสงประทีปส่องทาง แสงสว่างแห่งพิบูลประชาสรรค์” จากครูชุรินทร ก้อนแก้ว โรงเรียนพิบูลประชาสรรค์ เพื่อนำเสนอภาระงานและบทบาทหน้าที่ของครู คุณลักษณะและมาตรฐานวิชาชีพครู ความเป็นครูวิชาชีพ การจัดการความรู้เกี่ยวกับวิชาชีพครู ในด้านเนื้อหาวิชาที่สอน กลวิธีการสอน การสร้างเสริมทักษะการคิดวิเคราะห์ การคิดสังเคราะห์ และการคิดสร้างสรรค์ กระบวนการแสวงหา และการเลือกใช้สารสนเทศ การสร้างความก้าวหน้าในวิชาชีพครู การพัฒนาวิชาชีพครูอย่างต่อเนื่อง การพัฒนาศักยภาพของผู้เรียน ซึ่งผู้ศึกษาเห็นว่าการศึกษาในหัวข้อข้างต้น จะเป็นองค์ประกอบสำคัญที่ช่วยต่อเติมช่องว่างในการพัฒนาต่อยอดความเป็นครูวิชาชีพของคณะผู้ศึกษา ตลอดจนช่วยให้เกิดความรู้ความเข้าใจถึงความสำคัญระหว่างบทบาทหน้าที่ความเป็นครูกับการศึกษาไทย ให้ชัดเจนมากยิ่งขึ้น ตลอดจนปลูกฝังทัศนคติที่ช่วยส่งเสริมและพัฒนาความเป็นครูด้านกระบวนการทางความคิด โดยเน้นผู้เรียนเป็นศูนย์กลางอีกด้วย
3. Didital Literacy การรู้เท่าทันดิจิทัล การรู้เท่าทันโลกยุคใหม่ไร้พรมแดน
โรงเรียนมัธยมวัดนายโรง มีการนำเทคโนโลยีมาใช้ในการบริหารจัดการ โดยเริ่มจากให้ครูและบุคลากรของโรงเรียนเข้าร่วมการอบรมการใช้งาน เพื่อสร้างความเข้าใจการใช้เทคโนโลยีให้มากยิ่งขึ้นและนำไปพัฒนาสื่อการเรียนการสอนให้แก่นักเรียนของโรงเรียน โดยโรงเรียนนำเทคโนโลยีมาใช้แต่ละส่วน ดังนี้
การใช้ (Use)
1. นักเรียน
- การจัดการเรียนการสอนออนไลน์
- การปรับพื้นฐานออนไลน์
- การสอบผ่านระบบออนไลน์
- การส่งข้อมูลประชาสัมพันธ์ผ่านระบบออนไลน์ เช่น การเลือกชุมนุมออนไลน์ โฮมรูม การประชุมระดับชั้น แนะแนวการศึกษาต่อ ระบบดูแลช่วยเหลือนักเรียน เป็นต้น
2. บุคลากรภายในโรงเรียน
ผู้บริหาร
- มีการนิเทศติดตามผ่านระบบออนไลน์
- การลงนามหนังสือออนไลน์
ครูและบุคลากรทางการศึกษา
- การประชาสัมพันธ์ผ่านระบบออนไลน์
- การอบรมผ่านระบบออนไลน์ทั้งครูไทยและครูต่างชาติ
- การพัฒนาครูและบุคลากรทางการศึกษาผ่านระบบออนไลน์ เช่น การเลื่อนวิทยฐานะ เป็นต้น
- การลาออนไลน์
- การส่งคำสั่ง หนังสือราชการออนไลน์
- การมาปฏิบัติราชการ
- การสื่อสารระหว่างหน่วยงานภายในโรงเรียน
- การขออนุญาตไปราชการ
- การแจ้งซ่อมของฝ่ายอาคารออนไลน์
- การประชุมออนไลน์
3. ผู้ปกครอง
- การประชุมผู้ปกครองออนไลน์
- การติดตามดูแลนักเรียน
- การประชาสัมพันธ์ผ่านทางออนไลน์
4. ชุมชน
- การประชาสัมพันธ์ผ่านสื่อโซเชียลมีเดีย เช่น เพจโรงเรียน เฟซบุ๊ค เว็บไซต์โรงเรียน
- อบรมการใช้เทคโลยีให้แก่บุคคลภายนอก
การเข้าใจ (Understand)
โรงเรียนมัธยมวัดนายโรง ได้มีการประชุมผู้ปกครอง เพื่อสร้างความเข้าใจในการใช้เทคโนโลยีและตระหนักถึงการใช้โซเชียลมีเดีย โดยใช้เทคโนโลยีเข้ามามีส่วนร่วม ดังนี้
- ประชุมผู้ปกครองออนไลน์
- การให้ความรู้เกี่ยวกับการใช้สื่อโซเชียล
- ระบบ SDQ การทำแบบออนไลน์
- การสแกนบัตรนักเรียนเข้า - ออกโรงเรียน
การสร้าง (Create)
โรงเรียนมัธยมวัดนายโรง ได้นำ Google App มาใช้เป็นเทคโนโลยีหลักในการบริหารงานภายในโรงเรียนและการจัดการเรียนการสอน โดยนำมาพัฒนาเพื่อใช้ในด้านต่าง ๆ ดังนี้
1. ด้านการจัดการเรียนการสอน
- การจัดการเรียนการสอน Online ด้วย Google Classroom
- การจัดทำกำหนดการสอน Online ด้วย Google Doc
- การติดตามและนิเทศการเรียนการสอน Online ด้วย Google Form และ Google Classroom
- ตารางสอน Online ด้วย Google Sheet
- การสอบ Pre-test, Post-Test Online กิจกรรมสอนปรับ
- พื้นฐานและงาน Open House ด้วยGoogle doc , Google Form
2. ด้านการบริหารวิชาการ
- การรับสมัครนักเรียนออนไลน์
- การกรอกแบบฟอร์มมอบตัวออนไลน์
- การลงทะเบียนเลือกวิชาเสรีเพิ่มเติมออนไลน์
- แบบตอบรับการเข้าร่วมประชุมผู้ปกครองออนไลน์
- การลงทะเบียนเลือกชุมนุมออนไลน์
3. ด้านการบริหารกิจการนักเรียน
- การตัดคะแนนพฤติกรรมนักเรียน
- การเช็คชื่อเข้าร่วมกิจกรรมหน้าเสาธงผ่านระบบ E-Student
- ระบบดูแลช่วยเหลือนักเรียน
- งานสภานักเรียน
- โรงเรียนสุจริต (Best Practice รูปแบบการส่งเสริมกิจกรรมยอดคนดีศรีนายโรง)
4. ด้านการบริหารงานบุคคล
- การลาออนไลน์
- การรายงานการไปราชการออนไลน์
- รายงานการประเมินตนเอง (SAR)
- การรายงานการมาปฏิบัติงาน (Time attendance Report)
- การประเมินครูผู้ช่วยโดย G-suite
- การตรวจสอบอัตรากำลังออนไลน์
5. ด้านการเงิน
- การชำระเงินผ่านระบบออนไลน์
6. ด้านการบริหารอาคารสถานที่
- แบบคัดกรองตนเองโรงเรียนมัธยมวัดนายโรงเพื่อเก็บรวบรวมข้อมูล เป็นมาตรการดูแลและป้องกันเชื้อไวรัส Covid-19
- การแจ้งซ่อม
- งานโสตทัศนศึกษาและ ICT
7. ด้านการบริหารทั่วไปและงานธุรการ
- งานประชาสัมพันธ์
- งานสารสนเทศโรงเรียน
- แบบประเมินความพึงพอใจโดยใช้ระบบออนไลน์
- E-Office
- หนังสือสั่งการ (คำสั่งโรงเรียน)
เข้าถึง (Access)
ในปัจจุบันโลกมีการเปลี่ยนแปลงอย่างรวดเร็ว จากยุค Analog ไปสู่ยุค Digital และยุค Robotic จึงทำให้เทคโนโลยีดิจิทัลมีอิทธิพลต่อการดำรงชีวิตและการทำงาน ตัวอย่างเว็บไซต์และการเข้าถึง (Access) เทคโนโลยีดิจิทัล ที่มีประสิทธิภาพของการจัดกิจกรรมการเรียนรู้ของโรงเรียนมัธยมวัดนายโรง ที่ตระหนักและพยายามให้นักเรียนได้เรียนรู้อย่างจริงจัง
- DLTV
- PhET
- IXL
- Khan Academy
- Kahoot
- Hour of code
เรื่องที่ 1 รางวัลนวัตกรรม PLC
การยกระดับคุณภาพการจัดการเรียนรู้ของสถานศึกษาแบบองค์รวม หรือ T-SIP: Thailand School Improvement Program
การพัฒนาเครือข่ายโรงเรียนต้นแบบเพื่อยกระดับคุณภาพงานวิชาการ
ผ่านชุมชนแห่งการเรียนรู้ทางวิชาชีพ โรงเรียนในสังกัดองค์การบริหารส่วนจังหวัดขอนแก่น
ลักษณะเด่น
- ขับเคลื่อนจากความพร้อมและแรงจูงใจของฝ่ายบริหารเป็นลำดับแรกและเดินกลยุทธ์ไปที่ตัวแทนประเภทขนาดสถานศึกษาทั้งขนาดเล็ก ขนาดกลาง และขนาดใหญ่ ซึ่งเป็นขนาดตัวแทนของโรงเรียนในสังกัดอบจ.ขอนแก่น
- เปลี่ยนแปลงจากอุปสรรคในห้องเรียนสู่การปรับเปลี่ยนโยบายของโรงเรียน เพื่อมุ่งให้ครูทำงานร่วมกันได้โดยเรื่องเวลาไม่ใช่อุปสรรค
- เน้นเป้าหมาย 3 ด้านคือ ครูมืออาชีพ นักเรียนมีศักยภาพ โรงเรียนคุณภาพ ผ่านการออกแบบห้องเรียนร่วมกันที่ใช้แนวปฏิบัติที่ส่งผลต่อการจัดการเรียนรู้อย่างสูง
สำนักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษา เขต 33 จังหวัดสุรินทร์
การพัฒนาเครือข่ายโรงเรียนต้นแบบเพื่อยกระดับคุณภาพงานวิชาการ
โดยใช้กระบวนการชุมชนการเรียนรู้ทางวิชาชีพผ่านการพัฒนาบทเรียน
สำนักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษาเขต 33
ลักษณะเด่น
- ขับเคลื่อนจากภูมิศาสตร์พื้นที่และกำหนดโหนดเป้าหมายตามภูมิศาสตร์
- ใช้สมดุลของการพัฒนาคุณภาพห้องเรียนควบคู่กับการพัฒนาความก้าวหน้าทางวิชาชีพ ของครูแบบคู่ขนานภายในสังกัด
- ลบภาพลักษณ์ความทรงจำของครูต่อการนิเทศก์แบบเดิม สู่การให้ศึกษานิเทศก์เป็นเพื่อนคู่คิดในการพัฒนาชุมชนแห่งการเรียนรู้ทางวิชาชีพของสถานศึกษา โดยการจัดสรรตารางศึกษานิเทศก์ลงสนับสนุนอย่างเต็มกำลัง
โรงเรียนบ้านยางขาม สำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาพะเยา เขต 2
เครือข่ายการบริหารจัดการศึกษา เพื่อการพัฒนาผู้เรียนผ่านกระบวนการชุมชนแห่งการเรียนรู้ทางวิชาชีพ
ลักษณะเด่น
- ขับเคลื่อนเครือข่ายตามกระบวนการ PLC ทั้งระดับกลุ่มผู้บริหารจากกลุ่มโรงเรียนที่เข้าร่วมและระดับกลุ่มครูผู้สอนเพื่อให้เกิดโครงสร้างการทำงานที่สอดคล้องและเดินไปด้วยกัน
- การออกแบบแผนการจัดการเรียนรู้หน้าเดียวที่สามารถบอกถึงลำดับขั้นการจัดการเรียนรู้จริงในชั้นเรียน ทำให้เกิดความเข้าใจที่ตรงกันระหว่างครูผู้สอนและครูร่วมสังเกตการณ์สอน จนสามารถเก็บข้อมูลได้ตรงเป้าหมายการพัฒนาและสามารถให้ข้อมูลย้อนกลับหลังการสอนได้อย่างเป็นรูปธรรม
- การออกแบบการจัดการเรียนรู้ ด้านวิทยาการคำนวณที่แสดงออกถึงความสามารถของผู้เรียนเป็นหลักโดยเริ่มจากระดับความง่ายของเนื้อหาไปจนถึงความซับซ้อนของเนื้อหาที่เพิ่มขึ้นและนักเรียนสามารถติดตามครูได้อย่างชัดเจนโดยผู้เรียนได้ร่วมกันอภิปรายและทำงานอย่างทั่วถึง
โรงเรียนบ้านท่าข้าม สำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาเชียงใหม่ เขต 6
Task Based Learning เพื่อพัฒนาศักยภาพผู้เรียนสู่การเป็นนวัตกร
ลักษณะเด่น
- ใช้กระบวนการจัดการเรียนรู้แบบเน้นภาระงานเป็นฐาน (Task based Learning: TBL) เพื่อพัฒนาทักษะการคิดเชิงออกแบบของนักเรียนผ่านการปฏิบัติจริง อาทิเช่น กิจกรรมส้มตำ กิจกรรมแพนเค้ก กิจกรรมมอนสเตอร์ตัวใหม่ กิจกรรมบัวลอยสมการ เป็นต้น
- การทำงานร่วมกันระหว่างโรงเรียน มหาวิทยาลัย และชุมชน สามารถทำให้เกิดการแลกเปลี่ยนข้อมูลซึ่งกันและกันระหว่างโรงเรียนกับสังคมภายนอก จนทำให้ครูเกิดความคิดหลากหลายในการออกแบบสถานะการณ์จริงมาสู่การจัดการเรียนรู้ในชั้นเรียน
โรงเรียนเทพอุดมวิทยา สำนักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษา เขต 33 จังหวัดสุรินทร์
การยกระดับคุณภาพการศึกษาเพื่อพัฒนาผู้เรียนในศตวรรษที่ 21 อย่างยั่งยืน
ด้วยการจัดการเรียนรู้ที่ยึดหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงร่วมกับการสอนแบบโครงงานฐานวิจัยโดยใช้กระบวนการชุมชนแห่งการเรียนรู้ทางวิชาชีพผ่านระบบสารสนเทศและเทคโนโลยี
ลักษณะเด่น
นำร่องในทุกกลุ่มสาระวิชา โดยประยุกต์เอาแนวคิดด้านเศรษฐกิจพอเพียงและแนวปฏิบัติที่ส่งผลต่อการจัดการเรียนรู้อย่างสูงมาประกอบการออกแบบการจัดการเรียนรู้ภายในห้องเรียน
ผู้บริหารและคณะครูทำงานร่วมกันโดยใช้ IDPRS Model – (Inspiration, Determination, Practice, Result, Share) ผ่านชุมชนแห่งการเรียนรู้ทางวิชาชีพ
การส่งต่อการพัฒนาทักษะผู้เรียนด้วยแนวปฏิบัติที่นำมาใช้ร่วมกันระหว่างกลุ่มสาระ เป็นจุดเปลี่ยนของการเรียนรู้ร่วมกันของคณะครูต่อการพัฒนาแนวทางการสอนสำหรับระดับมัธยมศึกษา
โรงเรียนนิคมสร้างตนเองจังหวัดระยอง 10 สำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาระยอง เขต 1
การจัดการเรียนรู้แบบโครงงานบูรณาการกับหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง
เพื่อพัฒนาคุณภาพผู้เรียนด้านการคิดและนวัตกรรมและการทำงานเป็นทีม
ของนักเรียนโรงเรียนนิคมสร้างตนเองจังหวัดระยอง 10
ลักษณะเด่น
นำร่องใน 3 กลุ่มวิชาหลัก ได้แก่ ปฐมวัย ภาษา วิทย์-คณิต โดยใช้แนวคิดด้านเศรษฐกิจพอเพียงผ่านการเรียนรู้ด้วยโครงงานในช่วงลดเวลาเรียนเพิ่มเวลารู้
ผู้บริหารใช้วงจรของ PLC ให้ครูมาร่วมออกแบบการเรียนรู้ร่วมกัน ที่ดึงเอาแก่นของหลักเศรษฐกิจพอเพียง มาสู่การออกแบบกิจกรรมโครงงานและการประเมินได้อย่างสอดคล้อง
ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้นกับผู้เรียนจากโครงงานครั้งนี้ เป็นจุดเริ่มให้กลุ่มครูพัฒนาตนเองเพิ่มเติมเกี่ยวกับศาสตร์การจัดการเรียนรู้สำหรับประถมศึกษา
เครือข่ายโรงเรียนปางมะผ้าพิทยาสรรพ์ สังกัด สำนักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษาเขต 34
การพัฒนาคุณภาพการศึกษาที่ยั่งยืนด้วยการจัดการเรียนรู้ตามศาสตร์พระราชา
ผ่านกระบวนการชุมชนแห่งการเรียนรู้ทางวิชาชีพ (PLC) ของโรงเรียนจังหวัดแม่ฮ่องสอน
ลักษณะเด่น
ขับเคลื่อนเครือข่ายตามกระบวนการ PLC ระดับกลุ่มโรงเรียนโดยได้ศึกษาทฤษฎีเชิงระบบและได้ประยุกต์ใช้ทฤษฎีเชิงระบบการแก้ปัญหาแบบองค์รวมตามศาสตร์พระราชา
มีระบบบริหารจัดการทีมด้วยรูปแบบ TEAK MODEL และมีกระบวนการนิเทศ กำกับติดตามผ่าน KANYA MODEL เพื่อมุ่งเป้าหมายให้เกิดความสำเร็จต่อผู้เรียนแบบ STAR
ครูสมาชิกร่วมกันพัฒนาแผนการจัดการเรียนรู้ การวัดผลประเมินผล และการบันทึกหลังสอนเพื่อการพัฒนาผู้เรียน จนเกิดหลักฐานเชิงประจักษ์ที่สามารถสรุปข้อมูลผ่านงานวิจัยในชั้นเรียนได้
เน้นที่การออกแบบกิจกรรมการเรียนรู้จากสิ่งแวดล้อมรอบตัวนักเรียน อาทิเช่น การใช้ฉลากผลิตภัณฑ์ขวดน้ำดื่ม มาคำนวณหาส่วนประกอบต่าง ๆ ซึ่งจะทำให้ผู้เรียนเกิดความต้องการใฝ่เรียนรู้จริงและสามารถนำสิ่งที่ได้เรียนรู้ต่อยอดกับการใช้ชีวิตประจำวันได้
เรื่องที่ 2
การพัฒนาทักษะการให้เหตุผลอย่างไม่เป็นทางการ ของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 2
ผ่านการจัดการเรียนรู้โดยใช้ประเด็นทางสังคม ที่เกี่ยวเนื่องกับวิทยาศาสตร์เป็นฐาน
ผู้วิจัย : นายอัศวิน ธะนะปัด
โรงเรียนดำรงราษฎร์สงเคราะห์
จังหวัดเชียงราย
การพัฒนาผลการเรียนรู้วิชาชีววิทยา เรื่อง โครงสร้างและหน้าที่ของพืชดอก
ของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 5 โรงเรียนสุรวิทยาคาร จังหวัดสุรินทร์
โดยใช้ชุดกิจกรรมการเรียนรู้ ตามวัฏจักรการสืบเสาะหาความรู้ 5 ขั้น (5E)
ผู้วิจัย : นายพิรุณ ไพสนิท
โรงเรียนสุรวิทยาคาร
จังหวัดสุรินทร์
ผลการจัดการเรียนรู้โดยใช้ชุดการสอน แบบศูนย์การเรียนร่วมกับการเรียนแบบร่วมมือ
ที่มีต่อผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนและพฤติกรรมการทำงานกลุ่มวิชาคณิตศาสตร์พื้นฐานอาชีพ
ระดับประกาศนียบัตรวิชาชีพชั้นปีที่ 2 (ปวช.2) วิทยาลัยการอาชีพนวมินทราชูทิศ
ผู้วิจัย : ว่าที่ ร้อยตรีจิรายุทธิ์ อ่อนศรี
วิทยาลัยการอาชีพนวมินทราชูทิศ
กรุงเทพมหานคร
ผลการจัดการเรียนรู้วิชาสุขศึกษาโดยใช้ปัญหาเป็นฐานร่วมกับชุดการสอน
แบบศูนย์การเรียนที่มีต่อผลลัพธ์ การเรียนรู้ (Learning outcomes)
ของนักเรียน ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 6
ผู้วิจัย : นางสาวศิริพร ชอบสะอาด
โรงเรียนบ้านสวน (จั่นอนุสรณ์)
จังหวัดชลบุรี
ความสัมพันธ์เชิงเส้นของปัจจัยด้านบุคคลกับนวัตกรรมการจัดการเรียนรู้ของครู
ในโรงเรียนสังกัดสำนักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน
ผู้วิจัย : นายธีรพงษ์ แสงสิทธิ์
โรงเรียนห้วยชันวิทยา
จังหวัดขอนแก่น
เรื่องที่ 3
ศูนย์การศึกษาพิเศษประจำจังหวัดกาญจนบุรี
ชื่อนวัตกรรม : ภูมิปัญญาเบ็ดเสร็จ (Multiple Development Machine with Biofeedback)
โรงเรียนสาธิตสถาบันการจัดการปัญญาภิวัฒน์ จังหวัดนนทบุรี
ชื่อนวัตกรรม : SPIM LEARNING MODEL
โรงเรียนวัดแม่เตย จังหวัดสงขลา
ชื่อนวัตกรรม : ทำความดีด้วยหัวใจ บวรร่วมใจ เพื่อ MEATOEY
โรงเรียนจันทร์ประดิษฐารามวิทยาคม กรุงเทพมหานคร
วิชาการคู่คุณธรรม
โรงเรียนจันทร์ประดิษฐารามวิทยาคม กรุงเทพมหานคร
โรงเรียนศรีสองรักษ์วิทยา จังหวัดเลย
ชื่อนวัตกรรม : การจัดการศึกษาเพื่ออาชีพ "นักธุรกิจน้อยมีคุณธรรม นำสู่เศรษฐกิจสร้างสรรค์" โดยใช้รูปแบบ SRISONGRAK MODEL
โรงเรียนเนินกุ่มวิทยา จังหวัดพิษณุโลก
ชื่อนวัตกรรม : NOENKUM MODEL “ฟักข้าวผลิตภัณฑ์มหัศจรรย์”( Gac Health Care Products)
โรงเรียนบ้านปลาดาว จังหวัดเชียงใหม่
ชื่อนวัตกรรม : Makerspace แหล่งเรียนรู้พื้นที่สร้างสรรค์นักสร้างนวัตกรรมแห่งบ้านปลาดาว
โรงเรียนเทศบาลประตูลี้ จังหวัดลำพูน
ชื่อนวัตกรรม : การส่งเสริมทักษะภาษาอังกฤษด้วยกิจกรรม English Clinic: I can read เพื่อการเรียนรู้ตลอดชีวิต
โรงเรียนมอ.วิทยานุสรณ์ จังหวัดสงขลา
ชื่อนวัตกรรม : กิจกรรมเสริมทักษะ PSUWIT WORLD CLASS LEARNER เพื่อพัฒนาศักยภาพผู้เรียนสู่ศตวรรษที่ 21
โรงเรียนทุ่งหว้าวรวิทย์ จังหวัดสตูล
ชื่อนวัตกรรม : การพัฒนาหลักสูตรท้องถิ่นสาระการเรียนรู้เพิ่มเติม “อุทยานธรณีสตูล (Satun Geopark)
โรงเรียนหนองพอกวิทยาลัย จังหวัดร้อยเอ็ด
ชื่อนวัตกรรม : บ้านหลังเรียนนาฏมวยไทย ศูนย์การเรียนรู้เพื่อพัฒนาคุณภาพผู้เรียนที่ยั่งยืน
โรงเรียนหนองสูงสามัคคีวิทยา จังหวัดมุกดาหาร
ชื่อนวัตกรรม : การพัฒนาหลักสูตร ฝ้ายงามครามสวย โดยใช้ “BAIMON MODEL”
เรื่องที่ 4
รางวัลคุรุสภา 9 รางวัล
เรียนรู้และตอบคำถามปาฐกถา แลกเปลี่ยนเรียนรู้ และเสวนา "การปาฐกถาหม่อมหลวงปิ่น มาลากุล ครั้งที่ 4 เรื่อง “พลังครูไทยวิถีใหม่" รอบที่ 3
วันอังคารที่ 19 มกราคม พ.ศ. 2564
18 มกราคม 2564 เข้าร่วมโครงการพัฒนาบุคลากรครูด้านการใช้เทคโนโลยีการจัดการเรียนการสอน
เมื่อวันที่ 18 มกราคม 2564 นายปฐมพร ธัมมาภิรัตตระกูล ข้าราชการครู กศน.อำเภอสิงหนครและคณะบุคลากร เข้าร่วมโครงการพัฒนาบุคลากรครูด้านการใช้เทคโนโลยีการจัดการเรียนการสอน ณ ห้องประชุมสำนักงาน กศน.อำเภอสิงหนคร เรียนรู้เรื่องการใช้งาน VROOM
20 มกราคม 2564 เข้าร่วมโครงการพัฒนาบุคลากรครูด้านการใช้เทคโนโลยีการจัดการเรียนการสอน
เมื่อวันที่ 20 มกราคม 2564 นายปฐมพร ธัมมาภิรัตตระกูล ข้าราชการครู กศน.อำเภอสิงหนครและคณะบุคลากร เข้าร่วมโครงการพัฒนาบุคลากรครูด้านการใช้เทคโนโลยีการจัดการเรียนการสอน ณ ห้องประชุมสำนักงาน กศน.อำเภอสิงหนคร เรียนรู้เรื่องการใช้งาน Microsoft Office การใช้ PowerPoint
19 มกราคม 2564 ได้รับมอบหมายจากสำนักงาน กศน.จังหวัดสงขลาให้เป็นวิทยากรให้ความรู้ โครงการอบรมเชิงปฏิบัติการ ศูนย์ดิจิทัลชุมชน หลักสูตร การใช้งานโปรแกรมสำนักงานเพื่อสร้างโอกาสการมีงานทำ
วันที่ 19 มกราคม 2564 นายปฐมพร ธัมมาภิรัตตระกูล ข้าราชการครู กศน.อำเภอสิงหนคร ได้รับมอบหมายจากสำนักงาน กศน.จังหวัดสงขลาให้เป็นวิทยากร ครู ก ให้ความรู้ โครงการอบรมเชิงปฏิบัติการ ศูนย์ดิจิทัลชุมชน หลักสูตร การใช้งานโปรแกรมสำนักงานเพื่อสร้างโอกาสการมีงานทำ ณ โรงแรม ที อาร์ ร๊อค ฮิลล์ โฮเทล อำเภอหาดใหญ่ จังหวัดสงขลา โดยมี นายณัฐพงษ์ นวลมาก ผู้ตรวจราชการกระทรวงศึกษาธิการ เป็นประธานในพิธีเปิดโครงการ การอบรมใช้ Microsoft office
วันพุธที่ 13 มกราคม พ.ศ. 2564
วุฒิบัตร เกียรติบัตร การพัฒนาตนเอง
วุฒิบัตร เกียรติบัตร การพัฒนาตนเอง
สมัครสมาชิก:
บทความ (Atom)