เมื่อวันที่ 27 พฤศจิกายน 2557 ศูนย์การศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัยอำเภอบางสะพาน ประชุมบุคลากรประจำสัปดาห์ โดยมีสาระสำคัญดังนี้
งานประกันคุณภาพสถานศึกษา
1. เพื่อรองรับการประกันคุณภาพภายในปี 2559 ให้บุคลากรเรียนรู้วิชางานประกันคุณภาพทุกวันพุธ โดยจัดโครงการพัฒนาบุคลากรรองรับเรียบร้อยแล้ว
2. ทำบันทึกถอดประสบการณ์การประกันสถานศึกษาแต่ละมาตรฐาน
การทำงานตามเอกลักษณ์สถานศึกษา
เอกลักษณ์สถานศึกษา คือ "การทำงานเป็นทีม" (D)
- การทำงานเป็นทีม เริ่มจากกำหนดการแต่งตัวของบุคลากรให้เหมือนกันในแต่ละสัปดาห์
- การร่วมกันทำงานในห้องประชุมทุกวันพุธเพื่อรองรับการประกันสถานศึกษา
3. ทำแผน กศน.ตำบล ทุกตำบล ติดบนปฏิทินงานประจำปีงบประมาณ 2558 หน้าหอ ผอ. (P)
วันที่ 1 ธันวาคม 2557 เวลา 09.00 นายปฐมพร ธัมมารภิรัตตระกูล ประชุมหัวหน้าส่วนราชการแทน ผอ.
เวลา 13.00 น. ประชุม การจัดงานจังหวัดเคลื่อนที่ ณ ห้องประชุมอำเภอบางสะพาน
จัดกิจกรรมเทิดพระเกียรติพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว จัดประดับตกแต่งตราสัญลักษณ์ สมุดลงนามถวายพระพร และรายงาน
* การเขียนโครงการศึกษาดูงาน ต้องมีการจัดอบรมก่อนการศึกษาดูงาน
* ระเบียบงานสารบรรณ ควรศึกษาความรู้เพิ่มเติม
ค้นหาบทความในเว็บ
วันพุธที่ 26 พฤศจิกายน พ.ศ. 2557
กศน.อำเภอบางสะพาน รับการนิเทศการประกันคุณภาพสถานศึกษาโดยต้นสังกัด
เมื่อวันที่ 26 พฤศจิกายน 2557 ศูนย์การศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัยอำเภอบางสะพาน ได้รับการนิเทศการประกันคุณภาพสถานศึกษาโดยต้นสังกัด โดยมีท่าน ผอ.สำนักงาน กศน.จังหวัดประจวบคีรีขันธ์ นายเรืองฤทธิ์ ชมพูผุดผ่อง นางสาวสุธิกานต์ แย้มนิล ผอ.กศน.อำเภอหัวหิน และ นางมณีรัตน์ อัจฉริยพันธกุล ศึกษานิเทศก์ชำนาญการพิเศษ เพื่อแนะนำ ติดตามการประกันคุณภาพภายในสถานศึกษาให้มีความพร้อมเพื่อรองรับการประกันคุณภาพสถานศึกษาภายนอก (สมศ.)
ถอดประสบการณ์มาตรฐานที่ 4
- ประกาศ/คำสั่งทุกอย่างที่เกี่ยวข้องกับมาตรฐานควรทำให้เป็นปัจจุบัน
- รายชื่อคณะกรรมการสถานศึกษา/ครูทุกคนควรมีใน sar. ส่วนแผน/โครงการไม่ต้องใส่
- วิเคราะห์โครงการทุกโครงการ ให้สอดคล้องกับมาตรฐาน/ตัวบ่งชี้ของการประกันคุณภาพ/ของสถานศึกษา ควรทำเป็นตารางวิเคราะห์
- โครงการควรสอดคล้องกับอัตลักษณ์/เอกลักษณ์ของสถานศึกษา
- sar ต้องมีการพัฒนาขึ้นทุกปี เป็นปัจจุบัน
- แผนพัฒนา ทำ 58 เป็นต้นไป แผนปฏิบัติการประจำปีต้องสอดรับกับแผนพัฒ
- ทำ index.แต่บะมาตรฐาน เพื่อความสะดวก หาง่าย
- รายงานการประชุมต้องจดทุกครั้ง มีการพูดถึงเรื่องใดบ้างสอดคล้องกับมาตรใดนำ มาใส่(p). การนิเทศเสนอ ผอ. ให้ทุกคนเซ็นรับทราบ (a). คำสั่ง(d). (C)สรุปโครงการ
- ควรทำแฟ้มแยกงานแต่ละอย่างที่เข้ามา
ถอดประสบการณ์มาตรฐานที่ 4
- ประกาศ/คำสั่งทุกอย่างที่เกี่ยวข้องกับมาตรฐานควรทำให้เป็นปัจจุบัน
- รายชื่อคณะกรรมการสถานศึกษา/ครูทุกคนควรมีใน sar. ส่วนแผน/โครงการไม่ต้องใส่
- วิเคราะห์โครงการทุกโครงการ ให้สอดคล้องกับมาตรฐาน/ตัวบ่งชี้ของการประกันคุณภาพ/ของสถานศึกษา ควรทำเป็นตารางวิเคราะห์
- โครงการควรสอดคล้องกับอัตลักษณ์/เอกลักษณ์ของสถานศึกษา
- sar ต้องมีการพัฒนาขึ้นทุกปี เป็นปัจจุบัน
- แผนพัฒนา ทำ 58 เป็นต้นไป แผนปฏิบัติการประจำปีต้องสอดรับกับแผนพัฒ
- ทำ index.แต่บะมาตรฐาน เพื่อความสะดวก หาง่าย
- รายงานการประชุมต้องจดทุกครั้ง มีการพูดถึงเรื่องใดบ้างสอดคล้องกับมาตรใดนำ มาใส่(p). การนิเทศเสนอ ผอ. ให้ทุกคนเซ็นรับทราบ (a). คำสั่ง(d). (C)สรุปโครงการ
- ควรทำแฟ้มแยกงานแต่ละอย่างที่เข้ามา
วันศุกร์ที่ 21 พฤศจิกายน พ.ศ. 2557
กศน.อำเภอบางสะพานเป็นตัวแทนจังหวัด เข้าร่วม "โครงการพัฒนาบุคลากรในการจัดกระบวนการเรียนรู้การใช้พลังงานไฟฟ้าในชีวิตประจำวัน"
เมื่อวันที่ 17 - 21 พฤศจิกายน 2557 นายปฐมพร ธัมมาภิรัตตระกูล ครูผู้ช่วย กศน.อำเภอบางสะพาน ได้รับมอบหมายจาก ผอ.กศน.อำเภอบางสะพาน ให้เข้าร่วม "โครงการพัฒนาบุคลากรในการจัดกระบวนการเรียนรู้การใช้พลังงานไฟฟ้าในชีวิตประจำวัน" ณ โรงแรม BERKELEY ประตูน้ำ กรุงเทพมหานคร เพื่อเป็นวิทยากรแกนนำกศน.ภาคกลาง ถ่ายทอดความรู้ วิชา การใช้พลังงานในชีวิตประจำวัน รหัสวิชาพว02027 จำนวน 120 ชั่วโมง 3 หน่วยกิต
ใช้ระยะเวลาในการอบรมทั้งสิ้น 52 ชั่วโมง
วันที่ 17 พฤศจิกายน 2557
พิธีเปิดโดย ท่านรองเลขาธิการ กศน. นายสุรพงษ์ จำจด และผู้บริหาร กฟผ. ซึ่งได้มอบนโยบาย สรุปได้ว่า วิชาการใช้พลังงานไฟฟ้าในชีวิตประจำวัน มีนักศึกษาลงทะเบียนเรียนในภาคเรียนที่ 2 ปีการศึกษา 2557 จำนวนสองแสนกว่าคน โดยเน้นใช้การสอนแบบวิธีการทำโครงงาน ซึ่งบทบาทของ กศน.ที่เข้าถึงประชาชน สามารถนำความรู้เข้าไปถ่ายทอดแก่ประชาชนให้เข้าทันต่อความเปลี่ยนแปลงเพื่อให้อยู่ในสังคมได้อย่างมีความ สุข และวิกฤตพลังงานป็นวิกฤตของสังคมไทยและสังคมโลก การที่ กศน.ร่วมมือกับ กฟผ. ถือเป็นการร่วมมือทำกิจกรรมที่มีประโยชน์ต่อสังคม เพราะ กศน.เป็นหน่วยงานที่สร้างคน จัดการเรียนรู้แก่ประชาชนทั่วประเทศ
หน้าที่ของผู้รับอบรม คือ เป็นวิทยากรแกนนำ เพื่อนำเทคนิคไปถ่ายทอดขยายผลในระดับภาค จังหวัด อำเภอลงสู่ตำบลต่อไป
สรุปความรู้จากการอบรมวันที่ 17 พฤศจิกายน 2557
- รู้ภารกิจ หน้าที่ของ กฟผ. ความแตกต่างระหว่างการไฟฟ้าฝ่ายผลิต การไฟฟ้านครหลวงและการไฟฟ้าส่วนภูมิภาค
- ทำความเข้าใจคู่มือ บทที่1พลังงานไฟฟ้า
ความหมายและความสำคัญ ประเภท การกำเนิดของไฟฟ้า
- บทที่2 ประโยชน์และผลกระทบของพลังงานไฟฟ้า
- บทที่3 พลังงานทดแทน
- รวมกลุ่มในส่วนภาคกลาง สรุปความรู้ ปัญหาอุปสรรค วิธีการแก้ไขประจำวัน
วันที่ 18 พฤศจิกายน 2557
- ฟังบรรยายประโยชน์และผลกระทบของพลังงานไฟฟ้าในด้านคมนาคม เศรษฐกิจ อุตสาหกรรม คุณภาพชีวิต เกษตรกรรม และบริการ
- ฟังบรรยายหัวข้อโรงงานไฟฟ้ากับการจัดการด้านสิ่งแวดล้อม ความสำคัญของข้อกำหนดและกฎหมายที่เกี่ยวข้องกับโรงไฟฟ้าด้านสิ่งแวดล้อม
- ฟังบรรยายหัวข้อพลังงานทดแทน (พลังงานลม พลังงานแสงอาทิตย์ พลังงานความร้อนใต้พิภพ พลังงานน้ำพลังงานชีวมวล)
- ฟังบรรยายหัวข้อพลังงานทดแทน (พลังงานนิวเคลียร์) เปรียบเทียบต้นทุนการผลิตพลังงานไฟฟ้าแต่ละประเภท เปรียบเทียบข้อจำกัดของพลังงานทดแทนแต่ละประเภท
- ฟังบรรยายองค์ประกอบไฟฟ้าในครัวเรือนและอัตราค่าไฟฟ้าของผู้ใช้ไฟฟ้าแต่ละประเภท บทบาทหน้าที่ของหน่วยงานที่รับผิดชอบเกี่ยวกับไฟฟ้า
วันที่ 19 พฤศจิกายน 2557
- อบรมให้ความรู้การใช้สื่อในการสอน เช่น การใช้สื่อการสอนอิเลคทรอนิค วิชาการใช้พลังงานไฟฟ้าในชีวิตประจำวัน และความรู้เกี่ยวกับไฟฟ้าเพื่อประหยัดไฟฟ้า เช่น การตั้งอุณหภูมิเครื่องปรับอากาศ ให้ประหยัดไฟฟ้า 25 องสา ขึ้นไปยิ่งสูงยิ่งประหยัด การเปิดพัดลมเบอร์ตำ่สุดประหยัด เป็นต้น
- อบรมกระบวนการเรียนรู้โดยใช้โครงงานเป็นหลัก การนำสิ่งใกล้ตัวมาทำโครงงาน
- ประชุมวิทยากรแกนนำกลุ่มภาคกลาง 16 จังหวัด วางแผนเพื่อเขียนแผน การดำเนินการจัดโครงการ พัฒนาบุคลากรครูกศน.ในการจัดกระบวนการเรียนรู้การใช้พลังงานไฟฟ้าในชีวิตประจำวัน แก่ กศน.ใน 16 จังหวัดภาคกลาง โดยเน้น กศน.ตำบลเป็นหลัก โดยแบ่งเป็นกลุ่มโซน 4 กลุ่มโซน เพื่อวางแผนคร่าวๆในการจัดรูปแบบการอบรมแก่ครู
วันที่ 20 พฤศจิกายน 2557
- ศึกษาดูงานสถาบันวิจัยปรมาณูเพื่อสันติ
- ศึกษาดูงานโรงงานฟ้าพระนครเหนือ
วันที่ 21 พฤศจิการยน 2557
- สรุปการอบรม
- รับวุฒิบัตร
วัตถุประสงค์หลักของโครงการ เพื่อให้ครู กศน.นำความรู้ไปใช้ในการจัดกระบวนการเรียนรู้ ซึ่งเน้นการทำโครงงาน ได้อย่างมีประสิทธิภาพต่อไป
ส่วนที่ 2
สรุปแผนการจัดการดำเนินการโครงการพลังงานไฟฟ้าในชีวิตประจำวัน (แกนนำกลุ่มภาคกลาง) จากการเสนอแนวทางการงวางแผน และคำแนะนำของ ผอ.กองพัฒฯ
- จัดการอบรมเป็นกลุ่มโซน ภาคกลาง 4 โซน
- การจัดโครงการ ฯ จะจัดเป็นรุ่นๆ รุ่นละประมาณ 100 – 200 คน (แล้วแต่ความสามารถของโซนและสถานที่)
- ค่าใช้จ่ายคิดเป็นรายหัว หัวละ 300 บาท/คน/วัน
- สำนักงาน กศน. มีความคิดเห็นว่าควรจัด โครงการพลังงานไฟฟ้าในชีวิตประจำวัน 4 วัน 3 คืน เพราะมีส่วนของพิธีการ การมอบวุฒิบัตรด้วย และเพื่อประสิทธิผลที่เกิดแก่ครูกศน. (ตอนแรกทุกภาคคิดกันแค่ 3 วัน 2 คืน)
- ช่วงที่คาดว่าจะจัดโครงการ คือ ช่วงเดือน ธ.ค. 57 – ก.พ.58 (หรือโดยเร็วหากสามารถจัดได้)
- แกนนำในจังหวัดสามารถประสานเจ้าหน้าที่ กฟผ.ให้เป็นวิทยากร (หากสามารถประสานได้)
- วิทยากรแกนนำ ขอให้ทางสำนักงาน กศน. -ทำวุฒิบัตร หนังสือแจ้งกศน.จังหวัด และประสานไปยัง กฟผ.เพื่อให้สะดวกในการติดต่อวิทยากร
- แผนการจัดโครงการ ฯ ส่ง สำนักงาน กศน.ภายใน 1 สัปดาห์ (ศูนย์ภาคเป็นตัวแทนนำเสนอ)
- วิทยากรแกนนำ ของบประมาณค่าใช้จ่ายในโครงการ ฯ มาจาก 4 ส่วน คือ สำนักงาน กศน. กฟผ. สำนักงาน กศน.จังหวัดและหน่วยงาน ต้นสังกัด (อำนาจผู้บริหารตัดสินใจ)
- หน่วยงานต้นสังกัด ออกค่าเดินทางและค่าเบี้ยเลี้ยงแก่ผู้เข้าร่วมโครงการ
- การจัดโครงการ จะเน้นครู กศน.ตำบลเป็นหลัก
- วิทยากรแกนนำ แบ่งความรับผิดชอบในเนื้อหาบทเรียนแต่ละบทซึ่งมีด้วยกันทั้งหมด 4 บท โดยศูนย์วิทยาศาสตร์แต่ละแห่ง รับผิดชอบโครงงาน (ภาคกลาง อุทยานวิทยาศาสตร์หว้ากอ รับผิดชอบ)
- สถานที่ที่ควรใช้จัดโครงการฯ ควรใช้สถานที่ของ กฟผ.(จังหวัดที่สามารถจัดได้) หรือสถาบันภาคหากสามารถรองรับได้
- กศน.ตำบลในภาคกลางทั้งหมดมีประมาณ 1,200 ตำบล ซึ่งจะดำเนินการอบรมแก่ครู กศน.ตำบลทั้งหมด
- หนังสือคู่มือและหลักสูตรพลังงานไฟฟ้าในชีวิตประจำวัน จะได้ประมาณเดือนมกราคม 2558
- หากจะดาวน์โหลดคู่มือและหลักสูตร ทางกองพัฒฯ ได้แขวนไว้ที่เว็บไซต์ของกองพัฒฯ
ใช้ระยะเวลาในการอบรมทั้งสิ้น 52 ชั่วโมง
วันที่ 17 พฤศจิกายน 2557
พิธีเปิดโดย ท่านรองเลขาธิการ กศน. นายสุรพงษ์ จำจด และผู้บริหาร กฟผ. ซึ่งได้มอบนโยบาย สรุปได้ว่า วิชาการใช้พลังงานไฟฟ้าในชีวิตประจำวัน มีนักศึกษาลงทะเบียนเรียนในภาคเรียนที่ 2 ปีการศึกษา 2557 จำนวนสองแสนกว่าคน โดยเน้นใช้การสอนแบบวิธีการทำโครงงาน ซึ่งบทบาทของ กศน.ที่เข้าถึงประชาชน สามารถนำความรู้เข้าไปถ่ายทอดแก่ประชาชนให้เข้าทันต่อความเปลี่ยนแปลงเพื่อให้อยู่ในสังคมได้อย่างมีความ สุข และวิกฤตพลังงานป็นวิกฤตของสังคมไทยและสังคมโลก การที่ กศน.ร่วมมือกับ กฟผ. ถือเป็นการร่วมมือทำกิจกรรมที่มีประโยชน์ต่อสังคม เพราะ กศน.เป็นหน่วยงานที่สร้างคน จัดการเรียนรู้แก่ประชาชนทั่วประเทศ
หน้าที่ของผู้รับอบรม คือ เป็นวิทยากรแกนนำ เพื่อนำเทคนิคไปถ่ายทอดขยายผลในระดับภาค จังหวัด อำเภอลงสู่ตำบลต่อไป
สรุปความรู้จากการอบรมวันที่ 17 พฤศจิกายน 2557
- รู้ภารกิจ หน้าที่ของ กฟผ. ความแตกต่างระหว่างการไฟฟ้าฝ่ายผลิต การไฟฟ้านครหลวงและการไฟฟ้าส่วนภูมิภาค
- ทำความเข้าใจคู่มือ บทที่1พลังงานไฟฟ้า
ความหมายและความสำคัญ ประเภท การกำเนิดของไฟฟ้า
- บทที่2 ประโยชน์และผลกระทบของพลังงานไฟฟ้า
- บทที่3 พลังงานทดแทน
- รวมกลุ่มในส่วนภาคกลาง สรุปความรู้ ปัญหาอุปสรรค วิธีการแก้ไขประจำวัน
วันที่ 18 พฤศจิกายน 2557
- ฟังบรรยายประโยชน์และผลกระทบของพลังงานไฟฟ้าในด้านคมนาคม เศรษฐกิจ อุตสาหกรรม คุณภาพชีวิต เกษตรกรรม และบริการ
- ฟังบรรยายหัวข้อโรงงานไฟฟ้ากับการจัดการด้านสิ่งแวดล้อม ความสำคัญของข้อกำหนดและกฎหมายที่เกี่ยวข้องกับโรงไฟฟ้าด้านสิ่งแวดล้อม
- ฟังบรรยายหัวข้อพลังงานทดแทน (พลังงานลม พลังงานแสงอาทิตย์ พลังงานความร้อนใต้พิภพ พลังงานน้ำพลังงานชีวมวล)
- ฟังบรรยายหัวข้อพลังงานทดแทน (พลังงานนิวเคลียร์) เปรียบเทียบต้นทุนการผลิตพลังงานไฟฟ้าแต่ละประเภท เปรียบเทียบข้อจำกัดของพลังงานทดแทนแต่ละประเภท
- ฟังบรรยายองค์ประกอบไฟฟ้าในครัวเรือนและอัตราค่าไฟฟ้าของผู้ใช้ไฟฟ้าแต่ละประเภท บทบาทหน้าที่ของหน่วยงานที่รับผิดชอบเกี่ยวกับไฟฟ้า
วันที่ 19 พฤศจิกายน 2557
- อบรมให้ความรู้การใช้สื่อในการสอน เช่น การใช้สื่อการสอนอิเลคทรอนิค วิชาการใช้พลังงานไฟฟ้าในชีวิตประจำวัน และความรู้เกี่ยวกับไฟฟ้าเพื่อประหยัดไฟฟ้า เช่น การตั้งอุณหภูมิเครื่องปรับอากาศ ให้ประหยัดไฟฟ้า 25 องสา ขึ้นไปยิ่งสูงยิ่งประหยัด การเปิดพัดลมเบอร์ตำ่สุดประหยัด เป็นต้น
- อบรมกระบวนการเรียนรู้โดยใช้โครงงานเป็นหลัก การนำสิ่งใกล้ตัวมาทำโครงงาน
- ประชุมวิทยากรแกนนำกลุ่มภาคกลาง 16 จังหวัด วางแผนเพื่อเขียนแผน การดำเนินการจัดโครงการ พัฒนาบุคลากรครูกศน.ในการจัดกระบวนการเรียนรู้การใช้พลังงานไฟฟ้าในชีวิตประจำวัน แก่ กศน.ใน 16 จังหวัดภาคกลาง โดยเน้น กศน.ตำบลเป็นหลัก โดยแบ่งเป็นกลุ่มโซน 4 กลุ่มโซน เพื่อวางแผนคร่าวๆในการจัดรูปแบบการอบรมแก่ครู
วันที่ 20 พฤศจิกายน 2557
- ศึกษาดูงานสถาบันวิจัยปรมาณูเพื่อสันติ
- ศึกษาดูงานโรงงานฟ้าพระนครเหนือ
วันที่ 21 พฤศจิการยน 2557
- สรุปการอบรม
- รับวุฒิบัตร
วัตถุประสงค์หลักของโครงการ เพื่อให้ครู กศน.นำความรู้ไปใช้ในการจัดกระบวนการเรียนรู้ ซึ่งเน้นการทำโครงงาน ได้อย่างมีประสิทธิภาพต่อไป
ส่วนที่ 2
สรุปแผนการจัดการดำเนินการโครงการพลังงานไฟฟ้าในชีวิตประจำวัน (แกนนำกลุ่มภาคกลาง) จากการเสนอแนวทางการงวางแผน และคำแนะนำของ ผอ.กองพัฒฯ
- จัดการอบรมเป็นกลุ่มโซน ภาคกลาง 4 โซน
- การจัดโครงการ ฯ จะจัดเป็นรุ่นๆ รุ่นละประมาณ 100 – 200 คน (แล้วแต่ความสามารถของโซนและสถานที่)
- ค่าใช้จ่ายคิดเป็นรายหัว หัวละ 300 บาท/คน/วัน
- สำนักงาน กศน. มีความคิดเห็นว่าควรจัด โครงการพลังงานไฟฟ้าในชีวิตประจำวัน 4 วัน 3 คืน เพราะมีส่วนของพิธีการ การมอบวุฒิบัตรด้วย และเพื่อประสิทธิผลที่เกิดแก่ครูกศน. (ตอนแรกทุกภาคคิดกันแค่ 3 วัน 2 คืน)
- ช่วงที่คาดว่าจะจัดโครงการ คือ ช่วงเดือน ธ.ค. 57 – ก.พ.58 (หรือโดยเร็วหากสามารถจัดได้)
- แกนนำในจังหวัดสามารถประสานเจ้าหน้าที่ กฟผ.ให้เป็นวิทยากร (หากสามารถประสานได้)
- วิทยากรแกนนำ ขอให้ทางสำนักงาน กศน. -ทำวุฒิบัตร หนังสือแจ้งกศน.จังหวัด และประสานไปยัง กฟผ.เพื่อให้สะดวกในการติดต่อวิทยากร
- แผนการจัดโครงการ ฯ ส่ง สำนักงาน กศน.ภายใน 1 สัปดาห์ (ศูนย์ภาคเป็นตัวแทนนำเสนอ)
- วิทยากรแกนนำ ของบประมาณค่าใช้จ่ายในโครงการ ฯ มาจาก 4 ส่วน คือ สำนักงาน กศน. กฟผ. สำนักงาน กศน.จังหวัดและหน่วยงาน ต้นสังกัด (อำนาจผู้บริหารตัดสินใจ)
- หน่วยงานต้นสังกัด ออกค่าเดินทางและค่าเบี้ยเลี้ยงแก่ผู้เข้าร่วมโครงการ
- การจัดโครงการ จะเน้นครู กศน.ตำบลเป็นหลัก
- วิทยากรแกนนำ แบ่งความรับผิดชอบในเนื้อหาบทเรียนแต่ละบทซึ่งมีด้วยกันทั้งหมด 4 บท โดยศูนย์วิทยาศาสตร์แต่ละแห่ง รับผิดชอบโครงงาน (ภาคกลาง อุทยานวิทยาศาสตร์หว้ากอ รับผิดชอบ)
- สถานที่ที่ควรใช้จัดโครงการฯ ควรใช้สถานที่ของ กฟผ.(จังหวัดที่สามารถจัดได้) หรือสถาบันภาคหากสามารถรองรับได้
- กศน.ตำบลในภาคกลางทั้งหมดมีประมาณ 1,200 ตำบล ซึ่งจะดำเนินการอบรมแก่ครู กศน.ตำบลทั้งหมด
- หนังสือคู่มือและหลักสูตรพลังงานไฟฟ้าในชีวิตประจำวัน จะได้ประมาณเดือนมกราคม 2558
- หากจะดาวน์โหลดคู่มือและหลักสูตร ทางกองพัฒฯ ได้แขวนไว้ที่เว็บไซต์ของกองพัฒฯ
วันพุธที่ 12 พฤศจิกายน พ.ศ. 2557
กศน.อำเภอบางสะพาน เข้าร่วม โครงการประชุมเชิงปฏิบัติการจัดทำคู่มือแนวทางการดำเนินงานจัดการศึกษาเพื่อการรู้หนังสือ
เมื่อวันที่ 10-12 พฤศจิกายน 2557 กศน.อำเภอบางสะพาน ส่งบุคลากร คือ นายปฐมพร ธัมมาภิรัตตระกูล ตำแหน่งครูผู้ช่วย เข้าร่วม โครงการประชุมเชิงปฏิบัติการจัดทำคู่มือแนวทางการดำเนินงานจัดการศึกษาเพื่อการรู้หนังสือ ณ ห้องประชุม สำนักงาน กศน.จังหวัดประจวบคีรีขันธ์ เพื่อพัฒนาหลักสูตรผู้ไม่รู้หนังสือให้มีความชัดเจน มีประสิทธิภาพ สามารถนำแผนการสอนไปประยุกต์ใช้แก่ผู้ไม่รู้หนังสือในพื้นที่ได้จริงตรงตามแนวทางในคู่มือ โดยมี ท่าน ผอ.สนง.กศน.จังหวัดประจวบคีรีขันธ์ นายเรืองฤทธิ์ ชมพูผุดผ่อง เป็นประธาน ได้มอบนโยบาย การทำคู่มือ เพื่อให้บุคลากรที่มาทำเกิดความเข้าใจตรงกัน โดยแบ่งเป็น 3 ส่วนหลักๆ คือ 1.ส่วนคำอธิบายคู่มือและเอกสารลงทะเบียนต่างๆ 2.ส่วนแผนการจัดการเรียนรู้ 3.ส่วนวัดและประเมินผล
ระยะเวลาอบรม 20 ชั่วโมง
ระยะเวลาอบรม 20 ชั่วโมง
วันจันทร์ที่ 10 พฤศจิกายน พ.ศ. 2557
สมัครสมาชิก:
บทความ (Atom)